270 likes | 463 Views
DPAC Module 6 Risk Management & Refer. น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552. คลินิกตรวจสุขภาพ + DPAC. Community Case Finding. Other Clinic. คลินิกตรวจสุขภาพ + DPAC. Community Case Finding. Other Clinic. Intra Hospital. Extra Hospital.
E N D
DPAC Module 6 Risk Management & Refer น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 23 มีนาคม 2552
คลินิกตรวจสุขภาพ + DPAC Community Case Finding Other Clinic คลินิกตรวจสุขภาพ + DPAC Community Case Finding Other Clinic Intra Hospital Extra Hospital
ความเสี่ยง/โรคที่ พบจากการตรวจสุขภาพประจำปี • ประวัติที่มีความเสี่ยงตามATP Risk (Adult Treatment Program Panel III) • อายุมาก ชาย >=45 ปี หญิง >= 55 ปี • ประวัติญาติสายตรวจเป็น CHD ก่อนวัยอันควร ญาติชาย ก่อน 55 ปี หญิง 65 ปี • สูบบุหรี่ • ความเสี่ยงอื่นๆ ศึกษาได้จาก • Framingham 10 Year Risk หัดทำในแฟ้ม • FRAX 10 Year Fracture Risk (WHO) • ความเสี่ยงจากขาดฮอร์โมนทั้งชายและหญิง • ความเสี่ยต่อมลูกหมากโต • Stress Test http://hpe4.anamai.moph.go.th
ความเสี่ยง/โรคที่ พบจากการตรวจสุขภาพประจำปี • สัดส่วนร่างกายผิดปกติ ได้แก่ • ค่า BMI ผิดปกติ (Overweight BMI >=23 , Obesity BMI >=27.5 kg/m2) • รอบเอวผิดปกติ (ชาย >=90 ซ.ม. หญิง >= 80 ซม.) • % Fat ผิดปกติ • Ideal Weight • การนำข้อมูล ส่วนสูง น้ำหนัก อายุ เพศ มาหา • BMR (Basal Metabolic Rate) • Physical Activity Energy Expenditure (ประมาณ 15-30 % ของ BMR แล้วแต่ Life Style) • Digestion Energy Expenditure = 10% ของ (BMR + Physical Activity Energy Expenditure) • Total Energy Expenditure = BMR + Physical Activity + Digestion Energy Expenditure
Ideal Weight • Ideal Weight คือน้ำหนักที่ระดับส่วนสูงของแต่ละคนที่ทำให้ • BMI = 21 ในหญิง • BMI = 22 ในชาย • Basal Metabolic Rate (BMR) • BMR (ชาย) = 66+(13.7 * BW) + (5*height) – (6.8 * Age) • BMR (หญิง) = 655+(9.6 * BW) + (1.7*height) – (4.7 * Age) • Physical Activity of Energy = 15-30 % ของ BMR (แล้วแต่ Life style) • Digestion Energy = 10% * (BMR + Physical Activity Energy) • Total Energy Expenditure = BMR + PA + Digestive Energy.
ความเสี่ยง/โรคที่ พบจากการตรวจสุขภาพประจำปี • Risk หรือ Diseases ที่อยู่ในนิยามของ MS • ความดันเริ่มสูง (BP >=130/85) , Hypertension (BP>=140/90) • Pre Diabetic • Impaired Fasting Glucose หรือ IFG (FBS>=100 mg%) • Impaired Glucose Tolerance หรือ IGT โดย plasma glucose 2 ชั่วโมงหลังกิน glucose 75 gm > 200 mg/dl (แก้เอกสารหน้า 4 ของหนังสือ โปรแกรม check up โดยลบบรรทัด IGT ทิ้งหมด ) • DM (FBS>=126 mg%) • Dyslipidemia (LDL , TG , TC สูง แต่ HDL ต่ำ)
IDF ระบุเกี่ยวกับ IGT (ต่อ) • About 40-50% of people with IGTwill develop type 2 diabetes (accompanied by increased risk of cardiovascular disease and microvascular complications) within ten years. • Progressing to type 2 diabetes is not inevitable, and approximately 30% ofindividuals with IGT will return to normal glucose tolerance. • Cardiovascular complications associated with type 2 diabetes (e.g. increased atherosclerosis) begin to develop well before type 2 diabetes is diagnosed. By that time, macrovascular damage may already be well advanced. • In 2003 it was estimated that 314 million people (8.2% of the adult population) had IGT. By 2025, the number of people with IGT is projected to increase to 472 million (9.0% of the adult population).
IDF ระบุเกี่ยวกับ IGT (ต่อ) • The South-East Asia Region currently has the highest number of people with IGT (93 million) and the highest prevalence rate (13.2% of the adult population). The Western Pacific Region is the next highest in terms of number (approximately 78 million people) but its prevalence rate of 5.7% is the lowest. By 2025 it is estimated that the South-East Asian Region will continue to have the highest prevalence rate with 13.5%, followed by the European Region with 10.9%. • The Prevalence of IGT is more than double that of diabetes in the African and South-East Asian Regions. In the Eastern Mediterranean and Middle East, and the North American Regions the prevalence of IGT is slightly lower than that of diabetes.
ความเสี่ยง/โรคที่ พบจากการตรวจสุขภาพประจำปี • ผล Lab ผิดปกติ • Anemia Hct <36 % ในหญิง และ < 39 % ในชาย (Hct <33 % เป็น Clinical Anemia ที่ต้องให้ยารักษา) • Uric สูง (หญิง 5.7 mg/dl ชาย 7.0 mg/dl แล้วแต่ lab แต่ละ รพ.ด้วย) • Raising of Liver Enzyme (SGOT / SGPT / AP) ดูค่า Normal ของแต่ละ Lab • Raising of Kidney Function (BUN ไม่เกิน 25 mg/dl / Cr ไม่เกิน 1.2) .ให้แก่ไข คู่มือหน้า 5 Cr จาก 12 เป็น 1.2
ความเสี่ยง/โรคที่ พบจากการตรวจสุขภาพประจำปี • Gynecological Condition ได้แก่ • Breast Mass. • Abnormal Pap smear • Other เมื่อมาในคลินิกตรวจสุขภาพประจำปี • UA ผิดปกติ • Chest X ray ผิดปกติ • Stool Exam ผิดปกติ
การตรวจสมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) • หัวใจและปอด • Office (VO2 Max , Lung Capacity) • Field Cooper run Test • ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (แรงบีบมือ แรงเหยียดขา หลัง) • Instrument จักรยานวัดงาน • Non Instrument วิดพื้น , Sit Up • ความอ่อนตัว Sit and Reach Test ศึกษารายละเอียดใน Web : http://hpe4.anamai.moph.go.th
โรคที่พบบ่อยในการตรวจสุขภาพโรคที่พบบ่อยในการตรวจสุขภาพ Hypertension
โรคที่พบบ่อยในการตรวจสุขภาพโรคที่พบบ่อยในการตรวจสุขภาพ Dyslipidemia
Framingham 10 Years Risk. • นำตัวแปรดังต่อไปนี้เข้าสมการ ได้แก่ อายุ เพศ Total Cholesterol , Systolic Blood Pressure , HDL ,Smoking • หาค่าความเสี่ยงว่า อีก 10 ปีจะมี Prob ที่จะเกิดโรคหัวใจหรือหลอดเลือดเท่าไร โดย • <10 % Low Risk Target LDL < 160 mg/dl • 10-20 % Moderate Risk Target LDL < 130 mg/dl • >20 % High Risk Target LDL < 100 mg/dl กลุ่มที่เป็น CHD , หรือ CHD equivalence เช่น DM , Stroke จัดอยู่ในกลุ่ม High Risk • ต่อมามีการนำ ATP Risk มาร่วมกับ Framingham 10 Year Risk เพื่อหา LDL Target • ก่อน RX Lipid ต้อง TLC ก่อน โดยถ้าผลเลือด มากกว่าค่าเป้า
หมายเหตุ 1.Non HDL- c = TC – HDL 2.TC = LDL + HDL + TG/5 (ถ้า TG ไม่สูงเกินไป) 3.ตารางนี้ใช้ตัดสินใจว่าเมื่อไร ถ้า TG สูงเมื่อไรถึง Treat โดยจะ Treat เมื่อ TLC แล้วไม่ได้ผล และ Non HDL สูงยังสูงกว่า Non HDL – c Target 30 mg/dl
การปฎิบัติจริงการใช้โปรแกรม Check up
โปรแกรม Check up • เขียนให้ใช้บน Web ข้อมูลของโรงพยาบาลใดจะถือเป็นของ รพ.นั้น เมื่อร้องขอ เพื่อทำงานวิชาการ ทางศูนย์จะส่งข้อมูลให้ ถ้าร้องขอให้สอนการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสถิติ ทางศูนย์ก็ยินดีเปิด Course อบรม • มีระบบ Security ทั้ง Password และการ Encode คน Decode ให้เห็นชื่อและนามสกุลคือสถานบริการที่บันทึกข้อมูล • User name คือรหัสสถานบริการตามของ สปสช. • Password จะแจ้งในที่ประชุม • สามารถที่จะทำการเปลี่ยนแปลง Password ได้ • ใช้เลข 13 หลักในการระบุไม่ให้ลงทะเบียนซ้ำ ถ้าเกิดคนไข้ไม่มีเลข 13 หลัก ให้ขึ้นต้นด้วย 0 นำหน้าตามด้วยรหัสสถานบริการ แล้วแต่ละโรงพยาบาล running number กันเอง เช่น 0112860000001
โปรแกรม Check up • โปรแกรมจะคำนวณค่าต่างๆให้ ถ้าพบอะไรผิดปกติจะรายงาน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบที่ไม่ใช่แพทย์ ส่งต่อแพทย์ได้ ถ้าพบสิ่งผิดปกติ • สามารถพิมพ์สรุปผลการตรวจสุขภาพในภาพรวมของหน่วยงานที่มาตรวจได้ • คนไข้ไม่สะดวกที่จะมาดูผล lab สามารถเข้ามาดูทาง Web ได้ โดย User name คือ เลข 13 หลัก Password คือ หลักที่ 2-6 ของเลข 13 หลักนั้น และสามารถพิมพ์ออกมาได้ด้วย • โปรแกรมนี้ส่งไปจดลิขสิทธิ์กับกระทรวงพาณิชย์แล้ว กำลังรอผลตอบกลับ