120 likes | 273 Views
การพัฒนารูปแบบการบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2554. โดย สุวารี เพ็ชร์สงคราม สาขาภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา
E N D
การพัฒนารูปแบบการบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้การพัฒนารูปแบบการบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2554 โดย สุวารี เพ็ชร์สงคราม สาขาภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ความเป็นมา จากการรายงานผลของคณะกรรมการติดตามผลสถานศึกษาที่มีกระบวนการเรียนการสอนปีการศึกษา 2533 พบว่า การบริหารจัดการด้านวิชาการของแต่ละสถานศึกษามีรูปแบบการบริหารที่แตกต่างกัน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจจะศึกษารูปแบบเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการบริหารวิชาการจัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ได้มีผลลัพธ์และภาพความสำเร็จตามเกณฑ์การประเมินการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดเป้าหมายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
สภาพปัญหา จากการนิเทศเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาพบว่า สถานศึกษาที่ผ่านการประเมินสถานศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบอย่างจากการติดตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านในด้านหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนพบว่าสถานศึกษาบางแห่งยังไม่เข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี ครูผู้สอนไม่สามารถบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับหลักสูตรปกติได้ครบทุกกลุ่มสาระและสถานศึกษาบางแห่งเน้นดำเนินการด้านเกษตร เช่น การปลูกผัก เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่เพียงอย่างเดียว
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. เพื่อหาประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ขอบเขตด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้มุ่งพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยองค์ประกอบหลักและรอง ดังต่อไปนี้ องค์ประกอบที่ 1 การบริหารงานวิชาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยองค์ประกอบรอง ดังนี้ 1.1 ด้านนโยบายการบริหารการขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 ด้านการบริหารงานวิชาการ 1.3 ด้านอาคารสถานที่ 1.4 ด้านงบประมาณ 1.5 ด้านความสัมพันธ์ชุมชน
องค์ประกอบที่ 2 การจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนประกอบด้วยองค์ประกอบรอง ดังนี้ 2.1 ด้านการบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน 2.2 ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.3 ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.4 ด้านผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.5 ด้านการวัดและประเมินผล
องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วยองค์ประกอบรอง ดังนี้ 3.1 ด้านการสร้างความตระหนักและเข้าใจในเรื่องเกี่ยวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.2 ด้านส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.3 ด้านการดำเนินชีวิตและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.4 ด้านการติดตามประเมินผลการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.5 ด้านการเผยแพร่แนวคิดและผลการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
องค์ประกอบที่ 4 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยองค์ประกอบรอง ดังนี้ 4.1 ด้านการแนะแนวและดูแลนักเรียน 4.2 ด้านกิจกรรมนักเรียน กิจกรรมองค์การวิชาชีพ ลูกเสือ นักศึกษาวิชาทหาร 4.3 ด้านโครงงาน โครงการเสริมทักษะวิชาชีพ สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม 4.4 ด้านชุมนุม ชมรม องค์การ 4.5 ด้านประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมหรือหลักคำสอนทางศาสนา
กลุ่มตัวอย่าง ผู้อำนวยการวิทยาลัย รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน หัวหน้างานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา หัวหน้างานบุคลากร และครูผู้สอนแต่ละแผนกวิชาที่มีการบูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จำนวน 13 สถานศึกษา จำนวน 343 คน ใช้กลุ่มตัวอย่างจากตารางของ (krejcie and Morgan),บุญชม ศรีสะอาด.2548:187)
การบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการศึกษาการบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการศึกษา องค์ประกอบที่ 1 การบริหารการขับ เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง องค์ประกอบที่ 2 การจัดหลักสูตรและ การจัดการเรียนการสอน - ด้านนโยบายการบริหารการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านวิชาการ - ด้านอาคารสถานที่ - ด้านงบประมาณ - ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน - ด้านการบูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน - ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับ หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านการวัดและประเมินผล
การบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการศึกษาการบริหารวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดการศึกษา องค์ประกอบที่ 3 การพัฒนาบุคลากร องค์ประกอบที่ 4 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ด้านการสร้างความตระหนักและเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านการดำเนินชีวิตและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านการเผยแพร่แนวคิดและผลการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ด้านการแนะแนวและระบบดูแลนักเรียน - ด้านกิจกรรมนักเรียน กิจกรรม อกท. ลูกเสือ นักศึกษาวิชาทหาร - ด้านโครงงาน โครงการเสริม ทักษะอาชีพ สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม - ด้านชุมนุม ชมรม องค์การ - ด้านประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมหรือหลักคำสอนศาสนา