280 likes | 504 Views
การขับเคลื่อนระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย. สบย.สมอ. กรอบการนำเสนอ. การจัดอันดับการแข่งขันด้านโลจิสติกส์ของประเทศต่างๆ. ร้อยละของต้นทุนโลจิสติกส์แยกตามประเภท. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของ อก. การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต. ยุทธศาสตร์ที่ 1. เป้าประสงค์.
E N D
การขับเคลื่อนระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย สบย.สมอ.
การจัดอันดับการแข่งขันด้านโลจิสติกส์ของประเทศต่างๆการจัดอันดับการแข่งขันด้านโลจิสติกส์ของประเทศต่างๆ
ร้อยละของต้นทุนโลจิสติกส์แยกตามประเภทร้อยละของต้นทุนโลจิสติกส์แยกตามประเภท
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของ อก. การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 1 เป้าประสงค์ ธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมายมีการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบได้ตลอดห่วงโซ่อุปทาน
ครม. มีมติให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2550 ในกรอบการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม 4 ด้าน ดังนี้ 2. พัฒนาประสิทธิภาพโลจิสติกส์ภายในองค์กร (Internal Process Improvement) - Best Practice Implementation- Logistics Clinic 1. การเชื่อมโยงระหว่างองค์กรตลอดโซ่อุปทาน (Supply Chain Optimization) - Network, Cluster, - Traceability, Tracking Ability 4. การสร้างปัจจัยเอื้อเพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจของภาคอุตสาหกรรม(Industrial Trade Facilitation) - Single Window e-logistics - Infrastructure - Law & Regulation Improvement - Investment Privileges 3.พัฒนาขีดความสามารถด้านโลจิสติกส์ (Logistics Capacity Building) - Logistics Training -Specialist Development - Benchmarking กรอบการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม 16
กลุ่มเป้าหมายการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม ปี 2552-2554 ประเด็นการพัฒนา • อาหาร • รองเท้า/เครื่องหนัง • เครื่องใช้ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ • สิ่งทอ/เครื่องนุ่งห่ม • น้ำตาลทราย • เหล็กและ เหล็กกล้า • เซรามิก • น้ำตาลทราย • อาหาร • น้ำตาลทราย • ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ • เหล็กและเหล็กกล้า • เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • ยา • เหมืองแร่ • เซรามิก • หัตถอุตสาหกรรม • สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม • ปิโตรเคมีและพลาสติก • ผลิตภัณฑ์จากยางพารา • ของเสียและวัสดุเหลือใช้ Supply Chain Optimization Internal Process Improvement • อาหาร • SMEs • เซรามิก • SMEs • SMEs • ฐานข้อมูลเหล็กและเหล็กกล้า Capacity Building • SMEs Industrial Trade Facilitation • เชื่อมระบบของ อก. กับ NSWX • ผลักดันในส่วนที่เกี่ยวข้อง • ระบบให้บริการของกระทรวง • ระบบให้บริการของกระทรวง 2554 2550 2551 2552 2553 แผนปฏิบัติการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม แผนปฏิบัติการประจำปี2550-2551 กรอบแผนปฏิบัติการประจำปี 2552-2554 17
ประเด็นการพัฒนาด้านโลจิสติกส์จากภาคการศึกษาประเด็นการพัฒนาด้านโลจิสติกส์จากภาคการศึกษา ประเด็นการพัฒนา อาหาร : กุ้งแช่แข็งส่งออกสับปะรดกระป๋อง อาหารไทยในญี่ปุ่น ก๋วยเตี๋ยว อ้อยและน้ำตาลทราย หัตถอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์จากยางพารา อัญมณีและเครื่องประดับ Supply Chain Optimization อาหาร : กุ้งแช่แข็งส่งออก ผลไม้ส่งออกจีน เหล็กและเหล็กกล้า ยา หัตถอุตสาหกรรม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อัญมณีและเครื่องประดับ Internal Process Improvement อาหาร : กุ้งแช่แข็งส่งออกสับปะรดกระป๋อง เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ Capacity Building อาหาร : ผลไม้ส่งออกจีน อาหารไทยในญี่ปุ่น ยา สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ผลิตภัณฑ์จากยางพารา อัญมณีและเครื่องประดับ Industrial Trade Facilitation ที่มา : สกว. /สกอ. 18
MF1 MF2 อาหาร ปรับปรุงตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน อ้อยและน้ำตาลทราย ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ด้านอ้อย/น้ำตาล/การอนุญาตส่งออก ชิ้นส่วนยานยนต์ โซ่อุปทาน RM S-P F-P พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Tier 1-2-3 FMs ECs เหล็กและเหล็กกล้า ปรับปรุงประสิทธิภาพโลจิสติกส์และขยายผลระบบเชื่อมโยงกลาง อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้า/อิเลกทรอนิกส์ พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลกับทุกหน่วยธุรกิจโดยระบบมาตรฐาน RosettaNet ยา จัดทำฐานข้อมูลเพื่อวางแผนยุทธศาสตร์ Logistics อุตสาหกรรมยา เหมืองแร่ ปรับปรุงโลจิสติกส์ภายในโรงงาน เซรามิก ปรับปรุงโลจิสติกส์ภายในโรงงาน หัตถ อุตสาหกรรม ปรับปรุงโลจิสติกส์ภายในโรงงาน สิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่ม ปรับปรุงการจัดการภายในโรงงานกลางน้ำ ผลักดันการเตรียมความพร้อมด้านInfrastructure ปิโตรเคมี ยานยนต์ ผลักดันด้านกฎหมายพัฒนาInfrastructureและการ Shift Mode แนวทางการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมรายสาขา ปี 2552 19
FM = Farmer Manufacturer • RM = Raw Material • MF = Manufacturer • SP = Semi Product • FP = Finished Product • EC = End Customer • VMI = Vendor Management Inventory • ERP = Enterprise Resource Planning
ข้อเสนอกรอบแนวทางการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมรายสาขา ปี 2553 - 2554 อาหาร ปรับปรุงการจัดการวัตถุดิบ การเคลื่อนย้าย การผลิต การจัดเก็บ การส่งออก และกฎระเบียบ อ้อยและน้ำตาลทราย ปรับปรุงประสิทธิภาพการเก็บเกี่ยว การจัดการภายในโรงงาน การขนส่ง และการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการส่งออก ชิ้นส่วนยานยนต์ พัฒนาศักยภาพด้านการจัดการโซ่อุปทานของสถานประกอบการ และสร้างความร่วมมือระหว่าง Tier1 Tier2 Tier3 … เหล็กและเหล็กกล้า ผลักดันการจัดเก็บต้นทุนโลจิสติกส์ ขยายผลระบบเชื่อมโยงกลาง สนับสนุนการ Outsourcing เครื่องใช้ไฟฟ้า/อิเลกทรอนิกส์ ผลักดันให้มีการใช้ระบบมาตรฐาน RosettaNet และผลักดันการมีศูนย์รวบรวมและRecycle ยา จัดทำฐานข้อมูลธุรกิจและเครือข่าย จัดทำระบบสอบย้อน ผลักดันการใช้ VMI ERP เตรียมการตาม GDP GSP เหมืองแร่ ปรับปรุงการจัดการในองค์กรเพื่อลดต้นทุนโลจิสติกส์ และจัดทำ Specific Capacity Building เซรามิก ผลักดันการสร้างสมดุลระหว่างแผนการผลิตและ Inventory และผลักดันการวางแผนโซ่อุปทาน หัตถ อุตสาหกรรม ผลักดันการคำนวณต้นทุนโลจิสติกส์ และผลักดันการใช้ IT ในการประกอบการ สิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่ม ปรับปรุง/พัฒนาระบบ Software และเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูล ปิโตรเคมีและพลาสติก พัฒนาฐานข้อมูลสำหรับโซ่อุปทาน ผลักดันการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ยานยนต์ ผลักดันด้านกฎหมายพัฒนาInfrastructureและการ Shift Mode ผลิตภัณฑ์จากยางพารา ผลักดันการเชื่อมโยงโซ่อุปทานชุมชน พัฒนาการขนส่งและShift Mode และเพิ่มขีดความสามารถ LSP อัญมณีและเครื่องประดับ สร้างองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน สนับสนุนการใช้ IT ผลักดันให้เกิดนิคมอุตสาหกรรม 21
บทบาทของ สมอ. 1 มอก. 587-2528 : ขนาดตู้ขนส่งสินค้า กำหนด มอก. ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการโลจิสติกส์ 2 มอก. 588-2528 : ไม้รองรับสินค้า 3 มอก. 589-2528 : ขนาดหีบห่อผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อการขนส่ง
แนวโน้มของระบบโลจิสติกส์แนวโน้มของระบบโลจิสติกส์ การจัดการที่มีประสิทธิผลในการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ นำระบบ EMS มารวมกับการบริหารห่วงโซ่ อุปทาน เพื่อลดผลกระทบในกระบวนการ
Environmental Life Cycle ทุกขั้นตอนต้องใช้ทรัพยากรต่ำ ลดการปล่อยมลพิษ
Green Process Improvement Approach Green Supply Chain Management Green Purchasing Green Manufacturing /Material Green Distribution /Marketing Reverse Logistics