480 likes | 616 Views
เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ. อินเตอร์เน็ต(INTERNET).
E N D
เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศเครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศ
อินเตอร์เน็ต(INTERNET) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างๆหลากหลายเครือข่ายในโลกนี้เข้าด้วยกันก่อให้เกิดการแลกแปลี่ยนข้อมูล การสื่อสารที่เป็นประโยชน์อย่างมหาศาล อินเตอร์เน็ตจึงกลายเป็นสังคมขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นในโลกคอมพิวเตอร์โดยถูกขนานนามว่า “ไซเบอร์สเปซ”(Cyberspace)
พ.ศ.2512 มีการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกัน มีชื่อเรียกสมัยนั้นว่า “อาร์พาเน็ต”(ARPAnet Research Projects Agency Network)เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จำนวนมากเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน และการสื่อสารที่เป็นประโยชน์อย่างมหาศาลองค์กรทางทหาร และมหาวิทยาลัยนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเครือข่ายเป็นจำนวนมาก การขยายตัวของเครือข่ายนั้น ถีบตัวสูงขึ้น เมื่อองค์กรเอกชน และบริษัทต่างๆ นำเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาเชื่อม
ต่อด้วย จนกลายเป็นระบบอินเตอร์เน็ตในปัจจุบัน ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญที่สุดต่อการกำเนิดและได้รับคำยกย่องว่าเป็น”บิดาแห่งอินเตอร์เน็ต”ก็คือดร.เลียวนาด คลายอินร็อก(Dr.Leonard Kleinrock)ศาสตราจารย์ทางด้านวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย ณ นครลอสแอนเจอรีส (University of California,Los Angeles :UCLA)ซึ่งเป็นผู้ได้รับมอบหมายจากARPAให้ทำการวิจัยเพื่อสร้างARPANET
สำเร็จในช่วงเดือนตุลาคม ค.ศ.1969 ในประเทศไทยนั้นเริ่มมีการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในปีพ.ศ.2530 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(วิทยาเขตหาดใหญ่) เป็นจุดแรก ปีพ.ศ.2535 จุฬาลงกรมหาวิทยาลัยได้มีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย UUNET ของบริษัทเอกชนสหรัฐอเมริกา ต่อมาเอกชนหลายแห่งได้มีการขอต่อเชื่อมระบบนี้และเรียกชื่อเครือข่ายนี้ว่า ไทยเนต ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ NECTEC ได้จัดเครือข่ายขึ้นมีชื่อเรียกว่า
ไทยสาร ประกอบด้วยมหาวิทยาหลายแห่งได้เชื่อมต่อกับUUNET ทีซีไอพี ภาษากลางบนอินเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วโลกที่ต่างรุ่น ต่างแบบกัน จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้จะต้องอาศัยภาษากลางมีชื่อเรียกว่า “โปรโตคอล”(Protocol)โปรโตคอลมาตราฐานที่ใช้ในการสื่อสารบนอินเตอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า “ทีซีพีไอพี”(TCP/IP:Transmission Controcol /
/Internet Protocol) TCP/IPจะแบ่งข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะส่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งนั้นออกเป็นส่วนย่อยๆเรียกว่า “แพ็คเก็ต”(Packet)โดยในระบบจะมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า”เราเตอร์”(Router) เป็นตัวที่จัดหาเส้นทางที่ดีที่สุดทุกแพ็คเก็ต แพ็คเก็ตในแต่ละเส้นทางจะไปรวมกันที่จุดหมายปลายทางเดียวกัน และถูกนำมารวมกันเป็นข้อมูลที่สมบูรณ์อีกครั้ง
หมายเลขอินเตอร์เน็ต IP address เป็นหมายเลขประจำตัวเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งจะไม่ซ้ำกันกับเครื่องอื่นในโลกโดยประกอบด้วย ตัวเลข 4 ชุดเรียงกัน มีเครื่องหมายจุด(.)เป็นตัวคั่นตัวเลขแต่ละชุด ซึ่งแต่ละชุดจะมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลเรื่องนี้และคอยจัดสรร IP address หน่วยงานนี้มีชื่อว่า InterNIC (Internet Network Information Center)
ชื่อโดเมน • ชื่อโดเมน เป็นการนำตัวอักษรมาใช้แทน • IP address ที่เป็นตัวเลขเพื่อสะดวกในการจดจำ • โดยมีการจัดตั้งคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่นี้โดยเฉพาะ • มีชื่อเรียกว่า DNS (Domain Name Server)ชื่อโดเมน • นิยมตังให้สอดคล้องกับชื่อของบริษัทหรือองค์กรที่ • เป็นเจ้าของ
ชื่อโดเมนจะแบ่งออกเป็น 3ส่วนใหญ่ ๆ ซึ่งจะ ให้ข้อมูลว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นอยู่ที่ไหนแต่ละส่วนจะแยกกันด้วยจุด riy ส่วนนี้หหหแสดงชื่อองค์กร ac ส่วนนี้แสดงประเภทขององค์กร riy.ac.th th ส่วนนี้แสดงที่ตั้งทางภูมิศาสตร์หรือ ชื่อประเทศ
Com : Comercialnet : network servicegov :governmentalmil : militaryedu: Educationalor : other oganizationac : Academic
การเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต 1.การเชื่อมต่อโดยตรง การเชื่อมต่อแบบนี้ จะเป็นการนำระบบเข้าเชื่อม โดยตรงกับสายหลัก (Back Bone)ของอินเตอร์เน็ต โดย ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า “เก็ตเวย์”(gateway) หรือ “เราท์เตอร์”(route) ร่วมกับสายสัญญาณความเร็วสูงต้องติดต่อ โดยตรงกับอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา
2. การเชื่อมต่อผ่านผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการเชื่อมต่อเข้าระบบอินเตอร์เน็ต (internet Service Provider) “ไอเอสพี”(ISP)เป็น องค์กร ๆ หนึ่ง ที่ทำการติดตั้งและดูแลเครื่องให้ บริการ(Server)ที่ต่อตรงกับระบบอินเตอร์เน็ตซึ่งอนุญาตให้ผู้ที่สมัครเป็นสมาชิกขององค์กร นำระบบของตนเข้ามาเชื่อมต่อได้
2.1 การเชื่อมต่อแบบองค์กร(Corporate User Provider) 2.2 การเชื่อมต่อส่วนบุคคล(Individual User Services) ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต ด้านธุรกิจ-การค้า ช่วยให้ติดต่อธุรกิจ เช่นการซื้อขายสิน ค้า เป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว E-Commerce (Electronic commerce) ด้านการศึกษา ช่วยให้การค้นหาข้อมูลทางวิชาการได้ทุก สาขาวิชา จากแหล่งหอสมุดของมหาวิทยาลัยโลก
การติดต่อสื่อสาร • ช่วยให้เราสามารถรับส่งข่าวสารได้รวดเร็วทันใจมีการใช้ E-mail(Electronic mail) • ด้านความบันเทิง • เราสามารถฟังรายการสด ดูหนัง ฟังเพลง อ่านหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่างๆผ่านระบบ Internetได้
อันตรายจากอินเตอร์เน็ตอันตรายจากอินเตอร์เน็ต 1.ทำให้คนบางกลุ่มใช้ระบบอินเตอร์เน็ต ในการจารกรรมข้อมูลของผู้อื่น 2.ใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ผิด 3.ใช้ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
อินทราเน็ต(Intranet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานภายในองค์กรนั้น ๆ โดยนำเอาคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาทำการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เพื่อที่จะติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในองค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน เดิมของอินเตอร์เน็ตนั้น ยังเป็นเครือข่ายที่ไม่ค่อยจะปลอดภัยนักจึงได้มีการคิดค้นวิธีการชำระเงินผ่านอินเตอร์เน็ตโดยปลอดภัยมากขึ้นมาหลายวิธีเช่นกัน แต่วิธีที่นิยมใช้มากวิธีหนึ่งก็คือ การใช้ Secure Electronic Transaction protocol
อินทราเน็ตใช้เครือข่ายและเทคโนโลยี TCP/IP และเครื่องมือตลอดจนการบริหารต่าง ๆ ของอินเตอร์เน็ต อินทราเน็ตจะถูกแยกออกจากระบบอินเตอร์เน็ตด้วย Fire Wall ซึ่งเป็นส่วนผสมระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์สำหรับป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาติเข้าสู่ระบบอินทราเน็ต
- อินทราเน็ตนั้น จะมีซอฟต์แวร์ต่างๆที่หาได้ในท้องตลาดทั่วไป เช่น Web Browser - ส่วนประกอบสำคัญของอินทราเน็ต คือ ระบบอีเมล์ ซึ่งจะมีการเหมือนกับอีเมล์ของอินเตอร์เน็ตจะออกแบบมาเพื่อส่งข้อมูลภายในองค์กรเท่านั้น
- อินทราเน็ต จะทำให้คนสามารถทำงานร่วมกันทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ - อินทราเน็ตทำให้พนักงานเข้าร่วมประทางวีดีโอเป็นประจำได้ ซึ่งจะทำให้สามารถประชุมกับพนักงานในส่วนอื่นๆของประเทศของโลกก็ได้โดยจะเห็นภาพ
- องค์สามารถที่จะให้บริการลูกค้าที่ต้องการซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ตได้โดยเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตเข้ากับระบบการขายของบริษัทซึ่งเป็นอินทราเน็ต
ประโยชน์ของอินทราเน็ตสำหรับองค์กรมีดังนี้ประโยชน์ของอินทราเน็ตสำหรับองค์กรมีดังนี้ 1. สามารถเผยแพร่เอกสารที่ต้องการสื่อสารให้ พนักงานทราบผ่านอินทราเน็ต 2. ลดช่องว่างในการประสานงานระหว่างพนักงาน 3. สามารถเพิ่มต่อระบบอินทราเน็ตกับฐานข้อมูล 4. ลดเวลาในการเรียนรู้ เพราะพนักงานเป็นอยู่
การใช้งานอินเตอร์เน็ต และอินทราเน็ต บริการอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต มีบริการต่างๆ หลายรูปแบบแต่ก็พอแยกประเภทออกได้ดังนี้ - บริการข้อมูลมัลติมีเดีย ได้แก่ บริการ World Wide Web (WWW) - บริการโอนย้ายข้อมูล ได้แก่ บริการ FTP
- บริการค้นข้อข่าวสาร ได้แก่ WAIS, Archie, veronica และ Gopher - บริการติดต่อข่าวสาร ได้แก่ บริการ Telnet - บริการด้านรับส่งข่าวสาร ได้แก่ บริการ E-mail, IRC, และ UseNet - บริการด้านนำเสนอข่าวสารและความคิดเห็น ได้แก่ บริการ UseNet
แนะนำการใช้บริการข้อมูลมัลติมีเดียแนะนำการใช้บริการข้อมูลมัลติมีเดีย บริการ Web Sever หรือบางทีเราเรียกว่า WWW ผู้ที่จัดทำWeb Server ก็คือ ผู้ที่ดูแลระบบอินเตอร์เน็ต สำหรับ Web Server นั้น Web Server ก็หมายความถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่เราเรียกกันว่า “เว็บไซต์”(Web Site)
ระบบเครือข่ายยูสเน็ต (USENET) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกัน ด้วยระบบบีบีเอส ( BBS : Bulletin Board System ) เป็นการสื่อสารในเรื่องข่าวสารเป็นหลักโดยมีชื่อเรียกว่า “ กลุ่มข่าวสาร” (Newsgroups) โดยมีแหล่งส่งข่าวซึ่งเรียกว่า “ ยูสเน็ตเซิร์ฟเวอร์”
ระบบ อารซีย์(Archie)ระบบฐานข้อมูล(Gopher)ระบบสืบค้นเวส์(Wais)Wid Area Information Servers
การใช้บริการมัลติมีเดียการใช้บริการมัลติมีเดีย Browser เช่น Internet Explorer ,Netscape Mosaic
การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์ อิเล็กทรอนิกส์เมล์ (Eleotronic mail) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “อีเมล์” (E-mail) เป็นสิ่งที่มีการใช้งานกันมากที่สุดบนระบบอินเตอร์เน็ต วิธีการใช้อีเมล์อย่างหนึ่งคือ Mailing list หรือรายชื่อผู้รับเมล์จะเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงกลุ่มคน
การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยอีเมล์ • ข้อมูลของอีเมล์จะถูกส่งด้วยวิธีการเดียวกับข้อมูลของอินเตอร์เน็ต อีเมล์ยังสามารถแนบ (Attach) ไฟล์แบบไบนารี (Binary File) เช่น ไฟล์รูปภาพ ไฟล์วีดิโอ ไฟล์เสียง และไฟล์เก็บโปรแกรมหรือเอ็กซีคิวไฟล์ (Execute file) ไปกับอีเมล์
โครงสร้างของอีเมล์ อีเมล์แต่ละฉบับจะประกอบขึ้นด้วยข้อมูล ซึ่งโดยปกติจะอยู่ในรูปของรหัส ASCII เป็นมาตรฐานเดียวกันทำให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อความโดยไม่ต้องขึ้นกับประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการหรือฮาร์ดแวร์ใด ๆ รหัส ASCLL จะถูกเปลี่ยนเป็นตัวอักษรอย่างที่เราเห็นบนจอภาพ
โครงสร้างของอีเมล์ ตัวอย่าง เข้าเว็บไซต์ที่ให้บริการ E-mail ฟรี เช่น www.hotmail.com, www.bangkok.com,www.siammail.com,www.thai.com เป็นต้น
อีเมล์ทำงานอย่างไร • เมื่อส่งอีเมล์ฉบับหนึ่งออกไป มันจะถูกส่งไปเป็นสายของแพ็กเก็ตโดใช้โปรโตคอล TCP/IP • เราท์เตอร์ (Router) จะค้นหาที่อยู่ปลายทางของแต่ละแพ็คเก็ต • เมื่อแพ็กเก็ตนั้นมาถึงปลายทางมันจะถูกประกอบขึ้นเป็นอีเมล์ทั้งฉบับที่ผู้รับอ่านได้
การใช้เมล์ลิ้งลิส เราสามารถส่งจดหมายฉบับเดียวไปยังคนทั้งกลุ่มได้ • เราสามารถเข้าไปยังอินเตอร์เน็ตหลาย ๆ อย่าง เช่น FTP Server ผ่านทางอีเมล์ • เราสามารถใช้อินเตอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนอีเมล์ระหว่างผู้ใช้บริการออนไลน์
การติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยเอฟทีพีการติดต่อสื่อสารและการส่งข้อมูลด้วยเอฟทีพี “การดาวน์โหลด” (Down Load) หรือการโอนย้ายไฟล์จากอินเตอร์เน็ตมายังคอมพิวเตอร์ของเราไฟล์เหล่านี้มีหลายประเภท ซึ่งมักจะทำโดยการใช้ File transfer protocol หรือเรียนสั้นๆว่า เอฟทีพี (FTP) นอกจากนี้ FTP ยังใช้ใน “การอัพโหลด” (Up Load) ไฟล์จากคอมพิวเตอร์ของเราไปยังเครื่องอื่นบนอินเตอร์เน็ตได้
FTP ก็เหมือนบริการอื่น ๆ บนอินเตอร์เน็ตที่ทำงานในรูปแบบ Client/Server โดยเราจะต้องรับซอฟต์แวร์ FTP Client เพื่อทำการติดต่อกับ FTP Server จะต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า FTP Deamon ซึ่งทำให้เราดาวน์โหลดหรืออัพโหลดไฟล์ได้
เมื่อ World Wide Wed เป็นที่นิยมกันมาก การดาวน์โหลดไฟล์ก็ยิ่งใช้ง่ายตามไปด้วย เราสามารถคลิกลิงค์ที่ชี้ไปยังที่ต้องการได้โดยตรง World Wide Wed ก็จะทำการดาวน์โหลดไฟล์มาให้ทันที
FTP ทำงานอย่างไร • FTP ทำงานในรูปแบบ Client/Server ต้องมีซอฟต์แวร์ที่เป็น Client ซึ่งรันอยู่บนคอมพิวเตอร์ของเรา การทำ FTP แต่ละครั้ง(หรือเรียก FTP Session ) จะเริ่มโดยการรันซอฟต์แวร์FTP client เพื่อติดต่อเข้าไปยัง FTP Server
โปรแกรม FTP Server ที่เรียกว่า FTP Deamon จะเป็นตัวที่ทำการโอนย้ายไฟล์ทั้งหมด • เมื่อเราล็อกอินเข้าไปยัง FTP Server การเชื่อมต่อแบบนี้เรียกว่า Command Link จะถูกเปิดขึ้นระหว่างคอมพิวเตอร์ของเรา และ Server • เมื่อเราสั่งคำสั่งเพื่อดาวน์โหลดไฟล์ การเชื่อมต่อชุดที่สองจะเริ่มเปิดขึ้น ซึ่งเป็นแบบนี้ที่เรียกว่า Data Connection หรือ Data Link
การเชื่อมต่อแบบนี้จะถูกเปิดขึ้นเป็นแบบใดแบบหนึ่งในสองโหมด คือ โหมดแอสกี (ASCII) และโหมดไบนารี(Binary) ไฟล์จะถูกดาวน์โหลดจากเซิร์ฟเวอร์ไปยังคอมพิวเตอร์ของเราโดยผ่าน Data Connection • เมื่อดาวน์โหลดไฟล์เสร็จ และ Data Connection ถูกปิดลงแล้ว ก็จะเหลือแต่ Command Link ที่ยังเปิดอยู่ การออกจากระบบ หรือ Log off ซึ่ง Command Link ก็จะปิดลง
เทคนิคการค้นในเครื่องสืบค้นเทคนิคการค้นในเครื่องสืบค้น • 1. การใช้อักษรตัวเล็ก (Lower Case) หรือตัวใหญ่ (Upper Case) ให้ผลการค้นไม่แตกต่างกัน • 2. เชื่อมคำด้วยเครื่องหมาย OR ซึ่งจะให้ผลการค้นมีจำนวนมากมายเกิน • 3. การเชื่อมคำสำคัญตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป AND +ทำให้มีคำทุกคำที่กำหนดออกมา
4. ตัวเชื่อม NOT หรือใช้เครื่องหมาย-เชื่อมระหว่างคำจะทำให้มีคำสำคัญปรากฎอยู่ก่อนเครื่องหมาย-แต่ไม่มีความสำคัญที่อยู่หลังเครื่องหมาย-ออกมา
5. ใช้เครื่องหมายคำพูด (Quotation) คร่อม คำสำคัญ หากคำสำคัญนั้นเป็นคำผสม 6. ใช้ตัวอักษร t และเครื่องหมาย : นำหน้าคำสำคัญ 7. เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้สามารถใช้ผสมกันได้
การเลือกใช้สารสนเทศทางวิชาการในอินเทอร์เน็ตการเลือกใช้สารสนเทศทางวิชาการในอินเทอร์เน็ต 1. เลือกใช้สารสนเทศจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ - เป็นองค์กรที่มีตัวตนจริงสามารถตรวจสอบได้ - ไม่มีการเปลี่ยนรหัสยูอาร์แอล หรือ DNS บ่อยๆ - มีการเผยแพร่หัสยูอาร์แอล หรือ DNS อย่างเปิด เผย
-เป็นแหล่งทที่อยู่ในการควบคุมของ องค์กรของรัฐ 2. ใช้สารสนเทศทางวิชาการที่เขียนเผย แพร่โดยผู้ทรงคุณวุฒิและมีความน่า เชื่อถือในสาขาวิชานั้น ๆ
3. สารสนเทศทางวิชาการนั้นควรมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของเนื้อหา 4. สารสนเทศที่ได้จากบางบริการมีคุณค่าชั่วระยะเวลาหนึ่ง 5. สารสนเทศที่ได้จากเนื้อหาใน e-mailไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้
6. ใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยง (Link) ในการบริการแบบ WWW