180 likes | 337 Views
หลักการและวิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต. สำนักงบประมาณ 22 มกราคม 2546. ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต. ต้นทุน (Cost) หมายถึง ทรัพยากรหรืองบประมาณ (Inputs) ซึ่งได้แก่ค่าใช้จ่าย ทั้งหมด (Expenses) ที่ ใช้ในกระบวนการ กิจกรรมต่างๆ (Process ) เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต (Outputs).
E N D
หลักการและวิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตหลักการและวิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต สำนักงบประมาณ 22 มกราคม 2546 สำนักงบประมาณ
ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ต้นทุน(Cost)หมายถึง ทรัพยากรหรืองบประมาณ (Inputs) ซึ่งได้แก่ค่าใช้จ่าย ทั้งหมด(Expenses)ที่ใช้ในกระบวนการ กิจกรรมต่างๆ (Process) เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต (Outputs) กระบวนการผลิต ต้นทุน ผลผลิต Inputs Process Outputs ทรัพยากร งบประมาณ กิจกรรมต่างๆ สินค้า / บริการ สำนักงบประมาณ
องค์ประกอบของต้นทุน(จำแนกตามมิติต่างๆ)องค์ประกอบของต้นทุน(จำแนกตามมิติต่างๆ) ต้นทุนทางตรง + ต้นทุนทางอ้อม (จำแนกเพื่อการควบคุมและวัดผลการปฏิบัติงาน) ต้นทุนรวม ต้นทุนคงที่+ต้นทุนผันแปร (จำแนกตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงต้นทุนตามปริมาณการผลิต) วัตถุดิบ + ค่าแรง + ค่าใช้จ่ายการผลิต (จำแนกตามส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์) ค่าแรง + ค่าวัสดุ +ค่าลงทุน (งบบุคลากร + งบดำเนินงาน + งบลงทุน) สำนักงบประมาณ
ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต • แนวคิดในการคำนวณต้นทุน • ต้องสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงโดยการรวบรวมต้นทุนทั้งหมด (Total Cost)ที่เกิดขึ้นจากการผลิตไว้ในสินค้าและบริการที่ผลิตได้ โดยครอบคลุมทุกแหล่งเงิน ทั้งในส่วนที่เป็นต้นทุนเงินสด (Cash Cost)และไม่ใช่ต้นทุนเงินสด (Non-cash Cost) • คำนวณเป็นต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้ • ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) = ต้นทุนรวมของผลผลิต ปริมาณผลผลิต สำนักงบประมาณ
ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต แนวทางในการคำนวณต้นทุน คำนวณต้นทุนรวม (Total Cost) จากค่าใช้จ่าย 5 งบ ได้แก่ 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น โดยคำนวณจาก หน่วยต้นทุน(Cost Center)หมายถึง หน่วยงานใดๆที่มีปริมาณบริการที่วัดได้ เป็น ผลงานของตนเอง มีการใช้ต้นทุน เช่น ค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าลงทุนชัดเจน แบ่งออกเป็น1.หน่วยต้นทุนหลัก(Functional Cost Center)หมายถึง หน่วยงานย่อยของ ส่วนราชการที่ทำหน้าที่จัดทำผลผลิตที่ออกสู่ภายนอกหน่วยงาน และต้นทุนดังกล่าว จะถูกจัดเป็น ต้นทุนทางตรง 2. หน่วยสนับสนุน(Support Center)หมายถึงหน่วยงานย่อยของส่วนราชการ ที่ทำหน้าที่สนับสนุนหน่วยผลิตหลักให้สามารถจัดทำผลผลิตได้ ได้แก่ งานธุรการ งานการเงิน งานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ งานบริหารบุคคล เป็นต้น และต้นทุน ดังกล่าวจะถูกจัดเป็น ต้นทุนทางอ้อม สำนักงบประมาณ
การคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตของหน่วยงานการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตของหน่วยงาน เป้าหมายยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) แผนงาน ผลผลิตของหน่วยงาน กระบวนการ (กิจกรรมหลัก) งาน ต้นทุนทางตรง ต้นทุนทางอ้อม + หน่วยต้นทุนหลัก หน่วยสนับสนุน งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุน และงบลงทุน สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ระดับชาติ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดผลผลิตที่ต้องการคำนวณ โดยผลผลิตดังกล่าวต้องผ่านการพิจารณาร่วมกันระหว่างส่วนราชการและสำนักงบประมาณแล้วว่ามีความสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการและเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ และเป็น ผลผลิตที่ประชาชนต้องการ เป้าหมายการให้บริการ(สาธารณะ) ผลผลิต ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต หน่วยงาน งาน/โครงการ หน่วยคิด ต้นทุน ปี 2547 ผลผลิต ขั้นตอนที่ 2 กำหนดโครงสร้างการคำนวณต้นทุนตามวัตถุประสงค์ของการนำข้อมูลต้นทุนไปใช้งาน โดยวัตถุประสงค์ ของการใช้ข้อมูลจะเป็นตัวกำหนดหน่วยคิดต้นทุน (Cost Object) ความซับซ้อนของระบบการคิดต้นทุน และข้อกำหนดต่างๆ หน่วยคิดต้นทุน มีหลายลักษณะขึ้นกับสิ่งที่ จะคำนวณ เช่น หน่วยงาน งาน/โครงการ ผลผลิต กิจกรรมหลัก หลักสูตร สินค้า/บริการ เป็นต้น กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก ต้นทุนเงินสดและต้นทุนที่ไม่ใช่เงินสด* ต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร * การจัดทำงบประมาณ ปี2547 : - กำหนดหน่วยคิดต้นทุนที่ระดับกิจกรรมหลัก ของการนำส่งผลผลิต - คำนวณเฉพาะต้นทุนเงินสด - ยังไม่คำนวณงบลงทุนไว้ในกิจกรรมหลักและ ผลผลิต ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุนและงบลงทุน* โครงสร้างการคำนวณ ความซับซ้อนของระบบการคิดต้นทุนและข้อกำหนดต่างๆ ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต หน่วยคิด ต้นทุน ปี2547 ผลผลิต กิจกรรมหลัก ขั้นตอนที่ 3 เลือกวิธีการคำนวณต้นทุน และเกณฑ์การปันส่วนต้นทุนที่เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติงานของหน่วยงาน เทคนิควิธีการคำนวณต้นทุน*ได้แก่ 1. ต้นทุนคิดเข้างาน (Absorption Costing) 2. ต้นทุนงานสั่งทำ (Job Costing) 3. ต้นทุนมาตรฐาน (Standard Costing) 4. ต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing) 5. ต้นทุนแบบกระบวนการ(Process Costing) 6. ต้นทุนเป้าหมาย (Target Costing) ส่วนราชการเป็นผู้ตัดสินใจเลือกเทคนิควิธีการคำนวณ โดยมีสำนักงบประมาณเป็นผู้ให้คำปรึกษา ทั้งนี้ประโยชน์จากการพัฒนาระบบต้นทุนจะต้องมากกว่าต้นทุนในการนำระบบไปใช้(Benefits > Cost) * ยังไม่ดำเนินการในปี 2547 กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก กิจกรรมหลัก วิธีการคำนวณต้นทุน ปี 2547จะใช้วิธีคำนวณต้นทุนผลผลิตจากกิจกรรมหลัก ของการจัดทำผลผลิต ตามวิธีคำนวณในขั้นตอนที่5 ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบระบบการคำนวณต้นทุนตามเทคนิควิธีการที่เลือก เตรียมความพร้อมในเรื่องบุคลากร เครื่องมือและแหล่งข้อมูลสำหรับการคำนวณต้นทุนศึกษาข้อจำกัดและกำหนดข้อสมมติฐานในการคำนวณ ในปีเริ่มต้นของระยะเปลี่ยนผ่าน(ปี2546-2547) อยู่ในช่วงการสร้างฐาน ข้อมูลสำหรับการคำนวณต้นทุนทั้งข้อมูลด้านการเงินและไม่ใช่ด้านการเงินโดย • ส่วนราชการเป็นผู้บันทึกและรวบรวมข้อมูล • สำนักงบประมาณเป็นผู้ให้คำแนะนำทั้งในเรื่องเทคนิคการคำนวณและการสร้างฐานข้อมูล ทั้งนี้ส่วนราชการจะต้องมีรูปแบบการบันทึกข้อมูลต้นทุนของตนเองหรือผังบัญชี (Chart of Account) ซึ่งสอดคล้องกับผังบัญชีแม่บทของกรมบัญชีกลางและเมื่อระบบฐานข้อมูลงบประมาณ (BIS:Budget Information System) และการติดตามประเมินผล (EVMIS) และระบบฐานข้อมูลของกระทรวงการคลัง(FMIS)เสร็จสมบูรณ์จะสามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากส่วนราชการเข้าในทุกระบบของฐานข้อมูล งบประมาณ สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5วิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต (ปี 2547 คำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตจากกิจกรรมหลักของการจัดทำผลผลิต) • ระบุผลผลิตทั้งหมดที่ส่วนราชการจัดทำ(เชิงปริมาณ)ที่สอดคล้องกับ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงและยุทธศาสตร์ของรัฐบาล • ทบทวนหรือกำหนดกิจกรรมหลักๆที่สำคัญในการจัดทำผลผลิตโดยพิจารณาเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องโดยตรงหรือจำเป็นต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน • ระบุต้นทุนผลผลิตทั้งหมดของส่วนราชการ ซึ่งประกอบด้วย งบบุคลากร งบดำเนินงานงบรายจ่ายอื่น งบเงินอุดหนุนและงบลงทุน*ประเภท ครุภัณฑ์ และการปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง หมายเหตุ : *การนำงบลงทุน มารวมไว้ในต้นทุนของกิจกรรมหลักและต้นทุนผลผลิต มีจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มค่าใช้จ่ายในการลงทุนระยะยาว ( การจัดทำงปม.ปี 47 จะยังไม่รวมงบลงทุนไว้ในต้นทุนของกิจกรรมหลักและต้นทุนผลผลิต) สำนักงบประมาณ
ลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิตลำดับขั้นตอนการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ขั้นตอนที่ 5วิธีการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายต่อผลผลิต (ต่อ) • จัดสรรต้นทุนทางตรง โดยการกระจายต้นทุนของหน่วยผลิตหลักทั้งหมดไปสู่กิจกรรมหลักตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง หากเกี่ยวข้องในหลายกิจกรรมให้กระจายตามน้ำหนักงาน • ปันส่วนต้นทุนทางอ้อมหรือต้นทุนทั้งหมดของหน่วยสนับสนุนใน 3 ลักษณะ คือ 1) ปันส่วนให้กับหน่วยต้นทุนหลักก่อนปันส่วนให้กิจกรรมหลัก • 2) ปันส่วนให้กิจกรรมหลักโดยตรง • 3) ปันส่วนให้ผลผลิตโดยตรง • รวมต้นทุนทางตรง และต้นทุนทางอ้อม จากกิจกรรมหลักลงสู่ผลผลิต • คำนวณต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย (ต้นทุนผลผลิตรวม/จำนวนผลผลิต) สำนักงบประมาณ
ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 1 สำนักงบประมาณ
ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 2 สำนักงบประมาณ
ตัวอย่าง การกระจายต้นทุนทางตรงและการปันส่วนต้นทุนทางอ้อม หน่วยงาน ผลผลิตที่ 3 ผลผลิตที่ 2 ผลผลิตที่1 หน่วยต้นทุนหลัก กิจกรรมที่ ก กิจกรรมที่ ข หน่วยสนับสนุน กิจกรรมที่ ค วิธีที่ 3 สำนักงบประมาณ
หน่วยงาน ต้นทุนทางอ้อม ต้นทุนทางตรง หน่วยสนับสนุนที่2 หน่วยสนับสนุนที่1 วิธีที่ 1 หน่วยต้นทุนหลักที่2 หน่วยต้นทุนหลักที่1 วิธีที่ 2 วิธีที่ 3 กิจกรรมที่5 ผลผลิตที่1 ผลผลิตที่2 หารปริมาณผลผลิตที่1 หารปริมาณผลผลิตที่2 ต้นทุน/คชจ. ผลผลิตที่1ต่อหน่วย ต้นทุน/คชจ.ผลผลิตที่2ต่อหน่วย สำนักงบประมาณ
การใช้ประโยชน์จากข้อมูลต้นทุนผลผลิตการใช้ประโยชน์จากข้อมูลต้นทุนผลผลิต • การคำนวณต้นทุนผลผลิตมีส่วนช่วยปรับปรุงข้อมูลทางการเงินของภาครัฐ ซึ่งมุ่งเน้นในเรื่องการนำส่งผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางนโยบายและผลลัพธ์ของชาติ • เพื่อผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ • ติดตามผลด้านงบประมาณ : การมีระบบการคำนวณต้นทุนที่ดีจะช่วยให้สามารถติดตามค่าใช้จ่ายที่สูงหรือต่ำกว่าวงเงินงบประมาณที่กำหนดได้ • เพื่อหน่วยงานใช้รายงานผลในเรื่องต้นทุนในการนำส่งผลผลิตแก่หน่วยงาน เจ้าสังกัด • เพื่อใช้ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า สำหรับจัดเตรียมงบประมาณได้ตรงตามความต้องการการใช้ทรัพยากรของหน่วยงาน • เป็นข้อมูลสำหรับการจัดสรรงบประมาณภายในองค์กร • เอื้อต่อการวิเคราะห์ทางด้านการเงิน สำหรับองค์กรนำไปใช้ปรับปรุงกระบวนการและการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดทำผลผลิตต่อไป • ใช้ในการเปรียบเทียบ(Benchmarking)ในผลผลิตที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน • ใช้เป็นข้อมูลการกำหนดราคาเป้าหมายเพื่อการจัดสรรงบประมาณ สำนักงบประมาณ
ข้อกำหนดในการคำนวณต้นทุน/ค่าใช้จ่ายผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 1. คำนวณจากกิจกรรมหลักที่ใช้ในกระบวนการนำส่งผลผลิตของหน่วยงาน ซึ่งเป็นผลผลิตที่สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการและเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ 2. คำนวณเฉพาะต้นทุนเงินสด 3. ใช้ข้อมูลรายจ่ายจริงของปีงบประมาณที่ผ่านมา หรือหาค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี 4.คำนวณเฉพาะค่าใช้จ่ายในลักษณะงบบุคลากร และงบดำเนินงาน เท่านั้น ไม่รวมงบลงทุนและงบเงินอุดหนุนรายการ Administered Items 5. ครอบคลุมทุกแหล่งเงิน : เงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ สำนักงบประมาณ