240 likes | 470 Views
วิชาสัมมนาทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ( Seminar in Business Economics). อ. นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล. " ชีวิตนี้สั้นนัก , อย่ายึดติดกับกฎเกณฑ์ , อภัยให้ไว , รักอย่างแท้จริง , หัวเราะให้เต็มที่ และยิ้มอยู่เสมอ " . กระบวนการเรียนการสอน. ปัญหาพิเศษทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ (ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ)
E N D
วิชาสัมมนาทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ(Seminar in Business Economics) อ. นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล
"ชีวิตนี้สั้นนัก, อย่ายึดติดกับกฎเกณฑ์, อภัยให้ไว, รักอย่างแท้จริง, หัวเราะให้เต็มที่ และยิ้มอยู่เสมอ "
กระบวนการเรียนการสอน • ปัญหาพิเศษทางเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ (ทำรายงานการค้นคว้าอิสระ) • สัมมนากลุ่มย่อย ตามที่นักศึกษาสนใจ เกณฑ์การประเมิน 1) เกณฑ์ผ่าน ( Minimum Score) 40 % 2) เกณฑ์ให้คะแนน - รายงานการค้นคว้าอิสระ 40 % - โครงร่างการค้นคว้า 20 % - สอบกลางภาคและปลายภาค 40 %
ประเด็นหัวข้อในการค้นคว้าอิสระประเด็นหัวข้อในการค้นคว้าอิสระ • เศรษฐกิจระหว่างประเทศ (International Economy) • สิ่งแวดล้อม (Environments) • ปัญหาเศรษฐกิจ(Problem of Economy) • พลังงาน (Energy) • สินค้าเกษตรกรรม (Agriculture Goods) • เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) • ครอรับชั่น การทุจริต
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ (International Economy) • การนำเข้า (Import) • การส่งออก (Export) • อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) • การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Economy Group Agenda) • นโยบายการค้าระหว่างประเทศ (Political International)
การนำเข้าและการส่งออกการนำเข้าและการส่งออก • การนำเข้า หมายถึง การนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาภายในประเทศหรืออาจเรียกว่า อุปสงค์ของการนำเข้า(Demand of Import)หรืออาจเรียกอุปทานของการส่งออกก็ได้ปัจจัยที่มีผลต่อการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศได้แก่ • รายได้ประชาชาติของประเทศไทย • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • ราคาสินค้าโดยเปรียบเทียบของสินค้าเดียวกันในตลาดโลก • การส่งออก หมายถึง การนำสินค้าออกไปจากประเทศหรืออาจเรียกว่า อุปทานของการส่งออก(Supply of Export) หรืออาจกเรียกว่าอุปสงค์ของการนำเข้าก็ได้ ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออกได้แก่ • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ • ราคาสินค้าภายในประเทศโดยเปรียบเทียบของสินค้าเดียวกันในตลาดโลก • รายได้ประชาชาติของประเทศผู้นำเข้า
อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) • อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หมายถึง การเทียบค่าเงินต่างประเทศสกุลหนึ่งกับสกุลอื่นที่ต้องการ อาทิ เงินบาทเทียบกับดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินยูโรต่อหยวน • ปัจจัยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ขึ้นอยู่กับระบบอัตราแลกเปลี่ยนกล่าวคือ • ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดจะได้แก่ ดุลชำระเงินระหว่างประเทศ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดจะได้แก่ อุปสงค์และอุปทานของตลาดเงินตราต่างประเทศ
การรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Economy Group Agenda) • การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เกิดจากการที่ประเทศต่างๆ ในโลกตกลงเข้ารวมเป็นกลุ่มทางเศรษฐกิจภายใต้เงื่อนไขที่ทั้งสองฝ่ายต้องดำเนินการ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศมี 2 ลักษณะคือ • การรวมกลุ่มแบบทวิภาคี การรวมกลุ่ม 2 ประเทศ • การรวมกลุ่มแบบพหุภาคี การรวมกลุ่มมากกว่า 2 ประเทศ • ประเด็นสำคัญของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจคือ • Create Demand • Economic of Scale • Economy Growth
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ (Political International) • นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน ได้แก่ ภาษีศุลกากร โควตา มาตรการทางตรงของรัฐบาล ระบบมาตรฐานสินค้า • นโยบายการค้าเสรี หรือ นโยบายการค้าเสรี
สิ่งแวดล้อม (Environments) • เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นการอธิบายถึงการใช้ทรัพยากรต่างๆ ในทางเศรษฐกิจ ซึ่งการใช้ทรัพยากรดังกล่าวได้เกิดผลกระทบภาย(Internal Impact) และภายนอก(External Impact) สถานประกอบการ ซึ่งผลกระทบนั้นมีทั้งในด้านบวก(Positive Impact) และผลกระทบในด้านลบ(Negative Impact) ดังนั้นการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิตสินค้าและบริการไม่ตอบประเด็น efficiency เท่านั้น แต่ต้องตอบ sufficiency ด้วย
ปัญหาเศรษฐกิจ(Problem of Economy) • ปัญหาเศรษฐกิจ ตามวัฏจักรเศรษฐกิจ สภาพทางเศรษฐกิจมี 4 ลักษณะ • เศรษฐกิจรุ่งเรือง • เศรษฐกิจตกต่ำ • เศรษฐกิจตกต่ำที่สุด • เศรษฐกิจเริ่มรุ่งเรือง • ตัวแปรที่บ่งชี้ถึงปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญ • อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • อัตราการว่างงาน • อัตราเงินเฟ้อ • การเปลี่ยนแปลงของค่าจ้างที่แท้จริง
พลังงาน (Energy) • พลังงาน หมายถึง ความสามารถที่จะทำงานได้(the capacity to do work) ซึ่งอาจเป็นแรงงานที่ได้จากธรรมชาติโดยตรงหรือมนุษย์ดัดแหลงมาจากธรรมชาติเพื่อประโยชน์ใช้สอยในระดับครัวเรือนหรือเพื่อวัตถุประสงค์ใช้สอยในระดับครัวเรือนหรือเพื่อวัตถุประสงค์ในเชิงเศรษฐกิจ • พลังงานมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ เพราะ พลังงานเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญของภาคอุตสาหกรรม
ปี 2516 กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมขึ้นราคาน้ำมันทำให้เกิดความซบเซาทางเศรษฐกิจ การลงทุนลดลง กลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ำมัน เกิดการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ มีการต่อต้านการไหลออกของเงินตราต่างประเทศเพื่อชำระเป็นค่าน้ำมัน ประเทศด้อยพัฒนาที่ต้องการน้ำมัน มีความต้องการน้ำมันสูง แต่ราคาแพ่ง อัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูง ปี 2550 กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมประสบวิกฤตเศรษฐกิจ อุปสงค์มวลรวมของประเทศลดลง กลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ำมัน ควบคุมปริมาณน้ำมัน ส่งผลให้ปริมาณน้ำมันในตลาดลงลง ประเทศด้อยพัฒนา มีราคาพลังงานสูงขึ้น ปริมาณการใช้สูงขึ้นโดยเฉพาะประเทศจีน วิกฤตพลังงาน
สินค้าเกษตรกรรม (Agriculture Goods) • ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เพื่อกว่า 80% ทำเกษตรกรรม • ราคาตกต่ำ เกษตรกรมีรายได้ต่ำ ต้นทุนสูง • การลดลงของพื้นที่ทำการเกษตรกรรม • การเกษตรกรรมสัมพันธ์กับปริมาณอาหาร และพลังงานของประเทศ • การเกษตรกรรมทำลายสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) • เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์(Creative Economy)คือ ระบบเศรษฐกิจที่สะท้อนถึงกระบวนการซึ่งรวมเอาวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีเข้าไว้ด้วยกัน และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน จึงทำให้ Creative Economy โดดเด่นขึ้นมาท่ามกลางระบบการผลิตอุตสาหกรรมแบบดั้งเดิมและภาคการเกษตร • Creative Industry หรืออุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึงวงจรการสร้างสรรค์ การผลิต และการจำหน่ายสินค้าและบริการที่ใช้ทุนทางปัญญาเป็นปัจจัยการผลิตพื้นฐาน ซึ่งก็คือ กิจกรรมต่างๆ ที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้อันประกอบด้วยศิลปะ การสร้างรายได้จากการค้า และทรัพย์สินทางปัญญา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งลิขสิทธิ์) อุตสาหกรรมในกลุ่มนี้สามารถผลิตได้ทั้งสินค้าที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้อันมีเนื้อหาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ และมีเป้าหมายทางการตลาด นอกจากนี้ สินค้าที่มีความคิดสร้างสรรค์ยังสามารถเป็นสินค้าที่ผลิตขึ้นเป็นพิเศษ หรือผลิตครั้งละจำนวนมาก ซึ่งเกิดจากการเชื่อมต่อกันระหว่างช่างฝีมือหรือหัตถกรรม และภาคอุตสาหกรรมได้
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) • เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์เป็นหนึงในปัจจัยที่ช่วยลดปัญหาความยากจน และช่วยให้บรรลุเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ(Millennium Development Goals: MDGs) ขององค์การสหประชาชาติ นอกจากนี ได้ชี้ให้เห็นว่าCreative, Investment, Technology, ntrepreneurship และ Trade มีความเกียวข้องกัน หรือทีเรียกว่าCreative Nexus หรือ C-ITET Model • ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศปี 2000 – 2005 ชี้ให้เห็นว่าการค้าสินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์ขยายตัวเฉลียร้อยละ 8.7 ต่อปี นอกจากนี มูลค่าสินค้าเชิงสร้างสรรค์ในปี 2005 มีมูลค่าเพิม จากปี 2000 ถึง 47%
โครงสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์โครงสร้างเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ • กลุ่มอุตสาหกรรมที่อยู่ภายใต้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ หรือกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงระหว่างกันจะประกอบไปด้วย กลุ่มองค์ความรู้ดั้งเดิม เช่น ศิลปหัตถกรรม, กลุ่มการแสดงศิลปะ เช่น การละคร, กลุ่มสิ่งพิมพ์และวรรณกรรม เช่น หนังสือ, กลุ่มดนตรี เช่น คอนเสิร์ต และ CD, กลุ่ม Visual Arts เช่น ภาพเขียน, กลุ่ม Audio-Visuals เช่น ภาพยนตร์และโทรทัศน์, กลุ่มงานออกแบบ เช่น สถาปัตยกรรม และกลุ่มดิจิตอลและมัลติมีเดีย เช่น ซอฟท์แวร์ และเกม เป็นต้น
ครอรับชั่น การทุจริต • ครอรับชั่น การทุจริต หมายถึง การกระทำที่เป็นการนำเอาทรัพย์ที่มิใช่ของตน มาเป็นของตนเอง ทั้งนี้การกระทำนั้นมีกฎหมายบัญญัติไว้ • ประเภทของการครอรับชั่น/ทุจริต • การเอาทรัพย์ของหน่วยงานราชการเป็นของตน อาจกระทำ 2 รูปแบบ คือ กระทำโดยตรง และกระทำโดยอ้อม • การเอาทรัพย์ของภาคเอกชนเอก็นของตนเอง โดยที่ผ่านมา ปปง.ได้แบ่งฐานความผิดออกเป็น ความผิดมูลฐานยาเสพติด ค้าหญิงและเด็ก ฉ้อโกงประชาชน ยักยอก ทุจริตต่อหน้าที่ กรรโชกหรือรีดทรัพย์ ลักลอบหนีศุลกากร และการก่อการร้อย
การกำหนดหัวข้อค้นคว้าอิสระการกำหนดหัวข้อค้นคว้าอิสระ • ศึกษาสถานการณ์ • กำหนดประเด็นปัญหา • ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง • เขียนโครงร่างการวิจัย
วิธีการที่จะได้ประเด็นเรื่องศึกษาอิสระวิธีการที่จะได้ประเด็นเรื่องศึกษาอิสระ • ตัวเอง คือ • ความสนใจ • ความรู้ ความสามารถ • อนาคตในการทำงาน • ผู้อื่น คือ • ผู้ที่จะใช้ผลงานศึกษา • ผู้ที่ให้ทุน • อื่นๆ เรื่องไหน ง่าย ทำได้ มีเพื่อนทำ เพื่อนไม่หนี