790 likes | 1.45k Views
เอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมวิชาการแห่งชาติ สมาคมสุขศึกษา พลศึกษาและสันทนาการแห่งประเทศไทย. วันที่ 1-3 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช (หาดจอมเทียน) เมืองพัทยา จ.ชลบุรี. ชุดที่ 2 การประเมินสมรรถภาพทางกายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .
E N D
เอกสารประกอบการบรรยายในการประชุมวิชาการแห่งชาติ สมาคมสุขศึกษา พลศึกษาและสันทนาการแห่งประเทศไทย วันที่ 1-3 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช (หาดจอมเทียน) เมืองพัทยา จ.ชลบุรี รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ชุดที่ 2การประเมินสมรรถภาพทางกายตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สมรรถภาพทางกาย/สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกาย/สมรรถภาพทางกลไก ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระที่ 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค • ช่วงชั้นที่ 1 ป.1-3 • มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 6 เอาใจใส่ในการดูแลสุขภาพตนเอง ออกกำลังกาย พักผ่อนและร่วมกิจกรรมนันทนาการ • มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 7 มีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและสร้างเสริมได้ตามคำแนะนำ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ช่วงชั้นที่ 2 ป.4-6 • มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 5 ออกกำลังกาย พักผ่อน ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์และเลือกใช้แหล่งบริการสุขภาพที่เหมาะสม • มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 6 ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพด้วย วิธีง่าย ๆ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 7 สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพได้เหมาะสมกับความแตกต่างและความต้องการของแต่ละคน • มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 8 ปรับปรุง ระดับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ได้ด้วยวิธีง่าย ๆ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ช่วงชั้นที่ 3 ม.1-3 • มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 5 วางแผนและจัดเวลาในการออกกำลังกาย การพักผ่อน การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการได้อย่างเหมาะสม รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 6 เห็นความสำคัญของการมีสมรรถภาพที่ดีจากการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 7 ทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและหรือสมรรถภาพทางกลไก และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลด้วยวิธีที่ถูกต้อง รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ช่วงชั้นชั้น 4 ม.4-6 รายภาค • มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 6 ประเมินสร้างเสริมและดำรงสมรรถภาพทางกายและทางจิตตามหลักการ วิธีการและความต้องการ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อ 7 พัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและหรือสมรรถภาพทางกลไกตามความต้องการจนสำเร็จตามเป้าหมาย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สมรรถภาพทางกาย/สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกาย/สมรรถภาพทางกลไก ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระที่ 4 • การสร้างเสริมเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค • มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดชั้นปี • ป. 1 ไม่มี • ป. 2 ไม่มี • ป. 3 ข้อ 5 สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตามคำแนะนำ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดชั้นปี • ป. 4 ข้อ 4 ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ป. 5 ข้อ 5 ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดชั้นปี • ป. 6 ข้อ 4 สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่อง รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ม. 1 ข้อ 3 ควบคุมน้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ข้อ 4 สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดชั้นปี • ม. 2 ข้อ 7 พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดชั้นปี ม. 3 ข้อ 4 วางแผนและจัดเวลาในการออกกำลังกาย การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ข้อ 5 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ตัวชี้วัดช่วงชั้น ม. 4-6 ข้อ 5 วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว ข้อ 6 วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางกลไก รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายสาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย ความสามารถทางกลไก(MotorAbility) ความสามารถทางกลไกทั่วไป (General Motor Ability) ความสามารถในการเรียนรู้ทักษะกลไก (Motor Educability) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายสาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย ความสามารถทางกลไก (MotorAbility) ความสามารถทางกลไกทั่วไป (General Motor Ability ความสามารถในการเรียนรู้ทักษะกลไก (MotorEducability) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายสาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health- Related Physical Fitness) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
สาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายสาระเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย • สมรรถภาพทางกลไก (Motor Fitness) หรือสมรรถภาพทางกายเพื่อทักษะ (Skill- RelatedPhysical Fitness) หรือสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา (Sport Fitness หรือ Performance Fitness) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ความสามารถทางกลไกทั่วไป คำในภาษาอังกฤษที่ใช้ คือ Motor Ability General Motor Ability Motor Educability รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ความสามารถทางกลไกทั่วไป หมายถึงความสามารถในการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆได้อย่างดีและมีประสิทธิภาพ เป็นการวัดลักษณะทั่ว ๆไปไม่ใช่ทักษะทางกีฬาใดกีฬาหนึ่ง รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ประโยชน์ ใช้ในการจัดกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถทางกลไกในระดับเดียวกัน จัดกลุ่มในการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอน เช่น เปรียบเทียบการสอน 2 แบบ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
องค์ประกอบของความสามารถทางกลไกได้แก่องค์ประกอบของความสามารถทางกลไกได้แก่ พลังกล้ามเนื้อ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความคล่องแคล่วว่องไว ความอดทนของกล้ามเนื้อ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
องค์ประกอบของความสามารถทางกลไกองค์ประกอบของความสามารถทางกลไก ความอ่อนตัว จังหวะ/เวลา การประสานงานระหว่างตาและเท้า การประสานงานระหว่างตาและมือ ความเร็ว รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ความหมายของสมรรถภาพทางกาย (Definition of Physical Fitness) มีผู้ให้คำจำกัดความ (definition) แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าในแต่ละช่วงนั้นมีความต้องการสมรรถภาพทางกายเพื่อวัตถุประสงค์อะไร รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย (Definition of Physical Fitness) • การพิจารณาองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายขึ้นอยู่กับการให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายในช่วงนั้น ๆเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างข้อทดสอบสมรรถภาพทางกาย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
เช่น ในช่วงทศวรรษ 1950-1960(พ.ศ.2493-2503)องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายประกอบด้วย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อความอดทนของกล้ามเนื้อ ความคล่องแคล่วว่องไว ความอ่อนตัว ความสมดุล ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
AAHPER Youth Fitness Test (1957) (พ.ศ.2500) • ลุก-นั่ง (Sit-ups) • วิ่งเก็บของ (Shuttle Run) • ยืนกระโดดไกล (Standing Broad Jump) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
AAHPER Youth Fitness Test (1957) (พ.ศ.2500) • วิ่งเร็ว 50 เมตร (50-yard Dash) • ขว้างลูกซอฟบอล (Softball Throw) • ดึงข้อ Pull-ups (ชาย) งอแขนห้อยตัว(หญิง) (Flexed-arm Hang) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
วิ่งระยะทาง 600 หลา (600-yard walk/run) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ICSPFT (1964, พ.ศ.2507) • วิ่ง 50 เมตร • ลุก-นั่ง • วิ่งเก็บของ • ยืนกระโดดไกล • ดึงข้อ (งอแขนห้อยตัว) • แรงบีบมือขวา-มือซ้าย • นั่งงอตัวไปข้างหน้า • วิ่งระยะไกล(600,800,1,000) รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
H. Harrison Clarke (1967) (พ.ศ. 2510) • ความสามารถในการประกอบกิจกรรมประจำวันด้วยความกระฉับกระเฉงและว่องไวโดยไม่รู้สึกเหนื่อย และยังมีพลังงานพอที่จะประกอบกิจกรรมยามว่างได้อย่างสนุกสนาน และสามารถเผชิญกับเหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดไว้ล่วงหน้า รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
AAHPERD Youth Fitness Test (1976) (2519) • งอแขนห้อยตัว (ดึงข้อ) • วิ่งเก็บของ • ลุก-นั่ง(ขางอ) 1 นาที • ยืนกระโดดไกล • วิ่ง 50 หลา • วิ่ง 600 หลา อายุ 10-12 ปี วิ่ง 1 ไมล์หรือ 9 นาที • อายุ 13 ปีขึ้นไปวิ่ง 1.5 ไมล์ หรือ 12 นาที รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ในช่วงปี 1980(พ.ศ.2523)-ปัจจุบัน • ความสามารถของร่างกายในการประกอบกิจวัตรประจำวันด้วยความกระฉับกระเฉง ฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ว โดยเน้นเกี่ยวข้องกับการมีสุขภาพดี ไม่มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอันเนื่องมาจากการขาด การออกกำลังกาย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
AAHPERD Health-Related Physical Fitness Test (1979) (พ.ศ. 2522) ลุก-นั่ง มือประสานกันที่หน้าอก 1 นาที นั่งงอตัวไปข้างหน้า รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
วิ่งระยะไกล 1 ไมล์(หรือ 9 นาที) หรือวิ่งระยะทาง 1.5 ไมล์ (หรือ 12 นาที) ความหนาของไขมันใต้ผิวหนัง -Triceps และ Subscapular รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
การให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายนั้นมองได้หลายแง่การให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายนั้นมองได้หลายแง่ ความหมายที่แท้จริงของสมรรถภาพทางกายควรจะชัดเจนและล้อมกรอบเอาไว้ องค์ประกอบหลัก 2 ประการที่จะช่วยในการให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายสำหรับแต่ละกลุ่มบุคคล คือ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
* เป้าหมายของการทดสอบ (Purpose of the Tests) * กลุ่มประชากร รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
การให้ความหมายของสมรรถภาพทางกายอยู่ที่ว่า * สำหรับใคร * และอะไรที่จะทำการทดสอบ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
กลุ่มประชากร กลุ่มเยาวชน กลุ่มนักกีฬา กลุ่มผู้ใหญ่ กลุ่มผู้สูงอายุ Physically Impaired MentallyImpaired กลุ่มที่พักฟื้นจากการบาดเจ็บ รศ.ดร.กรรวี บุญชัย