330 likes | 784 Views
การบริหารจัดการน้ำ และการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน. การบริหารจัดการน้ำ. 1. การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ( Participatory Irrigation Management, PIM ). 2. 1.1 การบริหารจัดการน้ำระดับลุ่มน้ำ 1.2 การบริหารจัดการน้ำระดับอ่างเก็บน้ำ/แหล่งน้ำ
E N D
การบริหารจัดการน้ำและการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานการบริหารจัดการน้ำและการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
การบริหารจัดการน้ำ 1. การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม (Participatory Irrigation Management, PIM) 2. 1.1 การบริหารจัดการน้ำระดับลุ่มน้ำ 1.2 การบริหารจัดการน้ำระดับอ่างเก็บน้ำ/แหล่งน้ำ 1.3 การบริหารจัดการน้ำระดับคลองส่งน้ำ 1.4 การบริหารจัดการน้ำระดับคูส่งน้ำ/ท่อ
2.1 ความหมายการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม หมายถึง การบริหารจัดการชลประทานโดยให้เกษตรกรหรือผู้ใช้น้ำชลประทาน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของการบริหารจัดการชลประทาน เข้ามามีส่วนร่วมกับกรมชลประทานในการตัดสินใจบริหารจัดการและดำเนินงานกิจกรรมชลประทานทั้งในด้านการก่อสร้างด้านการส่งน้ำ และบำรุงรักษา ตามที่ได้ตกลงเห็นชอบร่วมกัน
2.2 11 กิจกรรมการดำเนินงาน PIMการดำเนินงานการมีส่วนร่วมด้านการส่งน้ำและบำรุงรักษา ได้จำแนกออกเป็น 11 กิจกรรม คือกิจกรรมที่ 1 การสร้างความเข้าใจกิจกรรมที่ 2 การจัดทำข้อตกลงกิจกรรมที่ 3 การจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำกิจกรรมที่ 4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งกิจกรรมที่ 5 การยกระดับองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน
กิจกรรมที่ 6 การจัดตั้งคณะกรรมการกิจกรรมที่ 7 การจัดตั้งกองทุนกิจกรรมที่ 8 การจ้างเหมางานบำรุงรักษาแก่กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานกิจกรรมที่ 9 การมีส่วนร่วมในการส่งน้ำและบำรุงรักษากิจกรรมที่ 10 การประเมินความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานกิจกรรมที่ 11 การจัดทำข้อมูลพื้นฐานโครงการ
2.3 การส่งน้ำและบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม 14 ขั้นตอน ขั้นตอนการส่งน้ำและบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม 14 ขั้นตอน มีดังนี้1) เจ้าหน้าที่ชลประทานกำหนดพื้นที่ส่งน้ำเป้าหมายเบื้องต้นตามปริมาณน้ำที่มี 2) กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานแจ้งความต้องการ ปลูกพืช 3) เจ้าหน้าที่ชลประทานวางแผนการส่งน้ำและบำรุงรักษาให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร
4) คณะกรรมการกลุ่มฯ / คณะกรรมการจัดการชลประทานประชุมพิจารณาแผนการส่งน้ำฯ และหาข้อตกลงการส่งน้ำ 5) แจ้งข้อตกลงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแก่สมาชิกกลุ่มฯ 6) เกษตรกรร่วมกันบำรุงรักษาคูส่งน้ำ 7) กลุ่มผู้ใช้น้ำและเจ้าหน้าที่ร่วมส่งน้ำตามแผนจนสิ้นฤดู 8) เจ้าหน้าที่ออกเยี่ยมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ใช้น้ำตลอดฤดู
9) เจ้าหน้าที่วัดปริมาณน้ำที่ส่งให้แปลงเพาะปลูก10) กลุ่มผู้ใช้น้ำรายงานพื้นที่เพาะปลูกจริง 11) เจ้าหน้าที่สำรวจผลผลิต ความพึงพอใจของเกษตรกร 12) เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลประมวลผลการดำเนินงาน 13) คณะกรรมการจัดการชลประทานประเมินผลการดำเนินงานและความเข้มแข็งกลุ่มฯ 14) รายงานผลการส่งน้ำและบำรุงรักษาประจำฤดูกาล
2.4 ประโยชน์ของการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม1) อาคารชลประทานเกิดประโยชน์ตามความต้องการของเกษตรกร และหลักการชลประทาน 2) มีความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของ 3) การจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา ตรงตามความต้องการของเกษตรกร อย่างทั่วถึง เป็นธรรมและประหยัด 4) ลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างเกษตรกรด้วยกันเองและเจ้าหน้าที่
2.5 เงื่อนไขความสำเร็จของการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกร มีส่วนร่วม1) การกำหนดนโยบายและเป้าหมาย 2) การสร้างให้เกิดความเข้าใจ 3) การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 4) การพัฒนาองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน 5) การวางระบบติดตามและประเมินผล
องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน 3. 3.1 องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน หมายถึง กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทานและสหกรณ์ ผู้ใช้น้ำชลประทานที่เกิดขึ้นจากการที่เกษตรกรผู้ใช้น้ำ ในเขตรับน้ำชลประทาน ได้รวมตัวกันจัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดการน้ำและบำรุงรักษาระบบชลประทาน
3.2 ประเภทขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานแบ่งตามสถานภาพด้านกฎหมายออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ประเภทที่ไม่เป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) (Water Users Group : WUG) - กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน (Integvated Water Users Group : IWUG)
2) ประเภทเป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน (Farmer Group : FG) - สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทาน (Water Users Accociation : WUA) - สหกรณ์ผู้ใช้น้ำชลประทาน (Water Users Co-operative : WUC)
การพัฒนาการบริหารจัดการน้ำการพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ 4. 4.1 การศึกษาเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำ (Reservoir Rule Curve Study) 1)การเตรียมข้อมูล 1.1) ข้อมูลอ่างเก็บน้ำ 1.2) ข้อมูลความต้องการใช้น้ำ 1.3) ข้อมูลโครงการฯ 2) การวิเคราะห์ข้อมูล 3) การกำหนดข้อกำหนดในการศึกษา Rule Curve
4.2 การวัดปริมาณน้ำโดยใช้เครื่องวัดความเร็วกระแสน้ำ (Current Meter) 4.3การส่งน้ำแบบหมุนเวียน (Rotation Method) หลักการที่สำคัญของการส่งน้ำโดยวิธีนี้มีอยู่ 3 ประการ คือ 1. แบ่งพื้นที่ที่จะต้องส่งน้ำทั้งหมดออกเป็นแปลงย่อย ๆ แล้วจัดเรียงลำดับของแปลงที่จะส่งน้ำให้ 2. คำนวณปริมาณน้ำที่จะต้องส่งให้กับแปลงย่อยที่ได้แบ่งไว้ให้พอเหมาะกับความต้องการพืช ขนาดของแปลงและการสูญเสียน้ำจากการส่งน้ำและให้น้ำ 3. กำหนดระยะเวลาที่แต่ละแปลงย่อยจะได้รับ ระยะเวลาดังกล่าวนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่และอัตรา การส่งน้ำ
การส่งน้ำแบบหมุนเวียนอาจแบ่งตามลักษณะการส่งน้ำแบบหมุนเวียนอาจแบ่งตามลักษณะ การหมุนเวียนออกได้เป็น 3 ประเภท - หมุนเวียนโดยคลองส่งน้ำสายใหญ่ - หมุนเวียนโดยคลองซอย - หมุนเวียนโดยคูส่งน้ำ
งานก่อสร้างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำอย่างไรงานก่อสร้างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำอย่างไร - ต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการกับงานที่จะก่อสร้างว่าจะอำนวยประโยชน์ต่อความต้องการ ได้อย่างไรทั้งด้านการเกษตร , อุตสาหกรรม , อุปโภค-บริโภค และอื่นๆ - การมีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้ใช้น้ำในระหว่างการก่อสร้างซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการบริหารจัดการน้ำในโอกาสต่อไป - ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างควรประสานงานกับ ผส.ชป. , ชคป. , ชคบ. โดยตลอด
- ก่อนงานก่อสร้างจะเสร็จเรียบร้อยต้องมีการเตรียมการส่งมอบงานให้ค่อนข้างสมบูรณ์ ทั้งผู้ส่งมอบ และผู้รับมอบในบางครั้งอาจจะส่งมอบงานเพียงบางส่วนไปก่อน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการน้ำได้ โดยไม่เกิดผลเสียหายต่อการก่อสร้าง - ผส.ชป จัดอัตรากำลังเข้าดำเนินการต่อจากงานก่อสร้าง -ในเขตโครงการก่อสร้างเจ้าหน้าที่กรมชลประทานทุกฝ่ายถือเป็นงานกรมชลประทานไม่ใช้งานของสำนัก , กองไหน และต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและชี้แจงราษฎร ไปในเดียวกัน