6.17k likes | 7.92k Views
CAI. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน. อ.นคร ชั้นประเสริฐ. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน. แบบเรียน การอ่านค่าความต้านทาน. แบบทดสอบ การอ่านค่าสีตัวต้านทาน. ออกจากโปรแกรม. แบบทดสอบ การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน. 1. แบบทดสอบ การอ่านค่าสีเบื้องต้น.
E N D
CAI บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน อ.นคร ชั้นประเสริฐ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน แบบเรียน การอ่านค่าความต้านทาน แบบทดสอบ การอ่านค่าสีตัวต้านทาน ออกจากโปรแกรม
แบบทดสอบ การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน 1. แบบทดสอบ การอ่านค่าสีเบื้องต้น 2.แบบทดสอบ การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน กลับไปเมนูหลัก
ตัวต้านทาน (Resistor) ตัวต้านทานไฟฟ้าทำหน้าที่ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร มีหน่วยเป็นโอห์ม ( Ω )แบ่งตามลักษณะการใช้งานได้ 2 ลักษณะ คือ • ตัวต้านทานค่าคงที่ (Fixed) • ตัวต้านทานปรับค่าและเลื่อนค่าได้ (Variable & Tab)
ตัวต้านทาน (Resistor) ตัวต้านทานแบบค่าคงที่สร้างจากผงคาร์บอน หรือจากขดลวด หรือจากฟิล์มโลหะ มี 2 ขา และมีแถบสีหรือตัวอักษรหรือตัวเลข บอกรหัสค่าของตัวต้านทาน ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ มี 2 แบบคือ แบบเลื่อนค่า (Tab) และแบบหมุน (Variable) ซึ่งแบบหลังจะเป็นเชิงเส้นมากกว่าแบบแรก
การอ่านค่ารหัสสีของตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี
ค่าประจำสีของตัวต้านทานค่าประจำสีของตัวต้านทาน
0 ดำ
1 น้ำตาล
2 แดง
3 ส้ม
4 เหลือง
5 เขียว
6 น้ำเงิน
7 ม่วง
8 เทา
9 ขาว
0.1 ทอง หรือ 5%
0.01 เงิน หรือ 10%
ไม่มีสี 20%
รหัสสีของตัวต้านทาน แบบ 4 แถบสี ค่าสี 1 ค่าสี 2 ตัวคูณ ค่าผิดพลาด
ตัวอย่างการอ่านรหัสสีของตัวต้านทานตัวอย่างการอ่านรหัสสีของตัวต้านทาน
ตัวอย่างที่ 1 ม่วง แดง เหลือง ทอง
ม่วง แดง เหลือง ทอง 7 2 4 ±5%
ม่วง แดง เหลือง ทอง 7 2 4 ±5% 7 2 104 ±5 %
=72 x 104 Ω±5% = 720,000 Ω±5% = 720k Ω±5%
ตัวอย่างที่ 2 น้ำตาล ดำ แดง ทอง
น้ำตาล ดำ แดง ทอง 1 0 2 ±5%
น้ำตาล ดำ แดง ทอง 1 0 2 ±5% 1 0 102 ±5 %
=10 x 102 Ω±5% = 1,000 Ω±5% = 1k Ω±5%
ตัวอย่างที่ 3 เหลือง ม่วง ดำ ทอง
เหลือง ม่วง ดำ ทอง 4 7 0 ±5%
เหลือง ม่วง ดำ ทอง 4 7 0 ±5% 4 7 100 ±5 %
=47 x 100 Ω±5% = 47 x 1 Ω±5% = 47 Ω±5%
ตัวอย่างที่ 4 แดง แดง แดง ไม่มีสี
แดง แดง แดง ไม่มีสี 3 3 3 ±20%
แดง แดง แดง ไม่มีสี 3 3 3 ±20% 3 3 103 ±20 %
=33 x 103 Ω±20% = 33,000 Ω±20% = 33k Ω±20%
ตัวอย่างที่ 5 เขียว น้ำตาล ทอง ทอง
เขียว น้ำตาล ทอง ทอง 5 1 0.1 ±5 %
เขียว น้ำตาล ทอง ทอง 5 1 0.1 ±5 % = 51 x 0.1Ω±5 % = 5.1 Ω±5 %
สีแดง มีค่าเท่ากับ 9 6 3 2
สีส้ม มีค่าเท่ากับ 2 3 4 5
สีเทา มีค่าเท่ากับ 9 8 7 6
สีเหลือง มีค่าเท่ากับ 2 4 8 10