150 likes | 363 Views
โครงการความร่วมมือการเกษตรระหว่างรัฐต่อรัฐ G to G ภายใต้ กรอบ ACMECS ( ไทย กับ สปป.ลาว). การประชุมในงานมหกรรม วางแสดงสินค้ากสิกรรม 28 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ที่ว่าการแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว. ความร่วมด้านการเกษตรไทย-ลาว.
E N D
โครงการความร่วมมือการเกษตรระหว่างรัฐต่อรัฐG to G ภายใต้กรอบ ACMECS (ไทย กับ สปป.ลาว) การประชุมในงานมหกรรม วางแสดงสินค้ากสิกรรม 28 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ที่ว่าการแขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
ความร่วมด้านการเกษตรไทย-ลาวความร่วมด้านการเกษตรไทย-ลาว
Plan of Action in ACMECS on Agriculture : Working Group Meeting on 17 Aug 2006 Chiang Rai 7 Common Projects • AC-1 Strengthening human resource capacities for Agricultural competitiveness of ACMECS countries. • AC-2 Programme of the community based sustainable irrigated agriculture development for poverty alleviation in the remote areas of the Mekong Basin. • AC-3 Cooperation on Food Safety. • AC-4 Corporation on agriculture development through contract farming. • AC-5 Joint Venture for production hybrid seeds of corns, vegetables and flowers. • AC-6 Prevention and control of Avian influenza. • AC-7 Development of Jatropha and Bio Fuel Production in ACMECS Regions. The ACMECS Cooperation will Progress, the Bilateral Projects should move to common projects
Bilateral Projects in Cambodia 2 Bilateral Projects in Lao PDR • All bilateral projects move to common project. • LT-23 Agro-processing and Agribusiness. • LT-A Oil palm plantation development. 4 Bilateral Projects in Myanmar • MT-23 Collaborative research on variety improvement, production and processing technology for potential food crops and industrial crops • MT-A1 Livestocks Production Development. • MT-A2 Fishery sector development. • MT-A3 Honey beekeeping project.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยดำเนินการใน ACMECS • จัดทำแผนปฏิบัติการกรอบความร่วมมือสาขาการเกษตรระหว่างรัฐต่อรัฐของกลุ่มประเทศ ACMECS เพื่อช่วยเหลือประชาชนในการยกระดับคุณภาพผลผลิตตามที่ตลาดต้องการ โดยเน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้สามารถผลิตสินค้าได้ตามคุณภาพมาตรฐาน และปริมาณที่ตลาดต้องการ • หลังจากประชาชนมีความสามารถในการผลิต รัฐบาลจะได้นำกลไกการตลาดในรูปแบบ Contract Farming มาแนะนำให้สามารถใช้เป็นเครื่องมือทางการค้า การแลกเปลี่ยนระหว่างกัน • สองกิจกรรมนี้จะเป็นแรงผลักดันกระตุ้นให้เกิดการสร้างงาน รายได้ให้แก่ประชาชนในภูมิภาคที่เป็น Win-Win Situation
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยจะช่วยเหลือประชาชนในภูมิภาคให้สามารถยกระดับคุณภาพผลผลิตตามที่ตลาดต้องการได้อย่างไรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยจะช่วยเหลือประชาชนในภูมิภาคให้สามารถยกระดับคุณภาพผลผลิตตามที่ตลาดต้องการได้อย่างไร แผนปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะสามารถอธิบายคำถามข้างต้นที่จะเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ของประชาชนที่มีประเด็นต้องพิจารณาว่า จะทำได้อย่างไร ได้แก่ • ผลผลิตการเกษตรที่ต้องมีคุณภาพสนองต่อความต้องการของตลาดเฉพาะเจาะจง (niche market) และตลาดส่งออก (Exporting) • วิธีการผลิตก่อน - หลังเก็บเกี่ยว (Pre & Post-harvest stage) • การตัดสินใจเลือกวิธีการขนส่งที่มิให้เกิดความเสี่ยงของผู้ซื้อ • เลือกวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best practices) • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยจะดำเนินงานบนพื้นฐานในผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interest) ของประชาชนในภูมิภาค เน้นกิจกรรมความร่วมมือระหว่ารัฐต่อรัฐ
Contract Farming ทุกฝ่ายเกิด Win-Win ภาครัฐ G to G Win-Win จากการลดปัญหายาเสพติด การเจริญเติบโตของภูมิภาค ความกินดีอยู่ดีของประชาชนภูมิภาค Higher Standard of Living ลดช่องว่างทางสังคมระหว่างกัน • ภาคประชาชน 2 ประเทศ P to P Win-Win เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ • ผู้ซื้อ โรงงานฝ่ายไทย เกิดหลักประกันของการได้รับวัตถุดิบที่แน่นอน ตามคุณภาพ และราคาที่ได้ตกลงกัน ถือเป็นการลดความเสี่ยงของการ • ขาดแคลนวัตถุดิบ • ผู้ขาย เกษตรกรประเทศเพื่อนบ้าน จะเกิดหลักประกันในตลาดจำหน่ายผลผลิตในอนาคตในราคาที่ตกลงปัจจุบัน แต่ส่งมอบในอนาคต มีงานทำ มีรายได้ ต่างฝ่ายเกิดประโยชน์ในลักษณะ รู้อนาคตลดความเสี่ยง
การหารือระหว่าง ผู้แทนกระทรวงเกษตรฯ ไทย กับ ห้องกสิกรรม แขวงสะหวันนะเขต และแขวงคำม่วน 19 - 20 ก.พ. 2551 สิ่งที่ได้ดำเนินงานไปในปี 2550พบว่ามีความก้าวหน้าไปได้มาก ได้แก่ • การเพาะปลูกแปลงสาธิตข้าวโพด และฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร • การฝึกอบรม การวิเคราะห์ดิน สำรวจดิน และการจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศใน สปป.ลาว • ฝึกอบรมวิเคราะห์ตรวจสอบของด่านกักกันพืชสัตว์เพื่อการส่งออก สปป.ลาว ความร่วมมือในแผนปฏิบัติการที่จะดำเนินการร่วมกันในปี 2551 • การวิเคราะห์ศักยภาพของที่ดินเพื่อการจัดทำเขตการผลิตพืช (Zoning) • การฝึกอบรมและดูงานเศรษฐกิจพอเพียงในไทยของเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร สปป.ลาว • การฝึกอบรม การวิเคราะห์ดิน สำรวจดิน และการแปลแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศใน สปป.ลาว
ผลการหารือระหว่าง กะทรวงเกษตรฯ ไทย กับ ห้องกสิกรรม แขวงสะหวันนะเขต และแขวงคำม่วน 2 - 4 ก.ค. 2550 สิ่งที่ได้ดำเนินงานไปในปี 2549/50ได้แก่ • การเพาะปลูกแปลงสาธิตข้าวโพด และฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ และเกษตรกร • การฝึกอบรม การวิเคราะห์ดิน สำรวจดิน และการจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศใน สปป.ลาว • ฝึกอบรมวิเคราะห์ตรวจสอบของด่านกักกันพืชสัตว์เพื่อการส่งออก สปป.ลาว ความร่วมมือที่ได้ร่วมหารือที่จะดำเนินการต่อไปในอนาคต • การจัดทำเขตผลิตพืชตามศักยภาพของที่ดิน (Zoning) การแบ่งเขตพืช • การจัดตั้งศูนย์บริการวิชาการทางการเกษตรสำหรับประชาชน • การเก็บรักษาอาหารสัตว์ และการปลูกหญ้า เพื่อใช้ในฤดูแล้ง • การส่งเสริมการเลี้ยงปศุสัตว์ โค ควาย แพะ และการผสมเทียม
นโยบาย 2 + 3 Contract Farmingที่ดิน แรงงานทุน วิชาการ สัญญารับซื้อ
Zoning เป็นความร่วมมือที่จะดำเนินการในอนาคต เพื่อให้ได้แผนที่การวางแผนการใช้ที่ดินใน สปป.ลาว + Crops Requirement Mapping Natural Resources อากาศ แม่น้ำ ป่าไม้ ฝน ถนน ดิน Identify Mapping เป็นแผนที่วางแผน เพื่อการใช้ที่ดิน อ้อย ต้น กระดาษ ข้าว ปาล์ม ยาง ข้าวโพด ถั่ว
มัน + ข้าวโพด + อ้อย มัน + อ้อย มัน + ข้าวโพด ดินอุดมสมบูรณ์มากๆ ทางเลือกมีมาก มัน + ข้าวโพด + อ้อย + ถั่วเหลือง มันสำปะหลัง ข้าวโพด มัน + อ้อย + ถั่วเหลือง อ้อย มัน + ข้าวโพด + ถั่วเหลือง ถั่วเหลือง ถั่วเหลือง + ข้าวโพด อ้อย + ถั่วเหลือง อ้อย + ข้าวโพด + ถั่วเหลือง การ Mapping แผนที่พืชเหมาะสม
ความร่วมมือระหว่างรัฐต่อรัฐของไทยกับ สปป.ลาว • ในปี 2549 สถานกงสุลไทยใน สปป.ลาว ได้ประสานงานกับแขวงสะหวันนะเขต และแขวงคำม่วน ได้แจ้งความต้องการในความร่วมมือโครงการ LT21 ที่จะเข้าดำเนินการในพื้นที่ของทั้ง 2 แขวง • 12 กันยายน 2549 คณะผู้แทน กษ. นำโดย สศก. ได้เดินทางไปเจรจากับเจ้าแขวงทั้ง 2 แห่ง เพื่อพิจารณาหารือในแผนปฏิบัติงานในความร่วมมือ โดยได้ตกลงคัดเลือกพื้นที่ และสินค้าเกษตร 2 ชนิด ได้แก่ ข้าวโพด และถั่วลิสง เนื่องจากเป็นสินค้าที่ตลาดมีความต้องการ โดยมีกิจกรรม • สาธิตการวิเคราะห์สำรวจดิน • จัดทำแปลงสาธิตการเพาะปลูกพืชไร่ตามที่ฝ่ายลาวสนใจ • ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต และพันธุ์พืช ให้กับเจ้าหน้าที่ สปป.ลาว
Win-Win Situation ชำระเงิน รับเงิน ซื้อ ขาย From Farm to Factory
การนำเข้าสินค้าของไทยจาก สปป.ลาว