1 / 31

จัดทำโดย

นางสาวอาอีฉ๊ะ หีมล๊ะ 5210110784 ( 3 EnE ) **************************************. จัดทำโดย.

Download Presentation

จัดทำโดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นางสาวอาอีฉ๊ะ หีมล๊ะ 5210110784 ( 3EnE ) ************************************** จัดทำโดย

  2. การบ่มคอนกรีตเป็นการควบคุมและป้องกันมิให้น้ำในคอนกรีตระเหยออกจากคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วเร็วเกินไป เนื่องจากน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดสำหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น นอกจากนี้การบ่มคอนกรีตยังจะช่วยป้องกันการแตกร้าวอันเนื่องจากการสูญเสียน้ำและการหดตัวของคอนกรีต การบ่มคอนกรีต (curing)

  3. ซึ่งจะส่งผลต่อกำลังของคอนกรีตโดยตรงดังนั้นหลังจากที่ผิวหน้าคอนกรีตแข็งตัวแล้ว จะต้องบ่มคอนกรีตให้มีความชื้นอยู่เสมอ เป็นเวลาอย่างน้อย 7 วันเป็นการรักษาน้ำในคอนกรีตให้มีเพียงพอสำหรับการทำปฏิกิริยากับปูน การบ่มคอนกรีต (ต่อ)

  4. กำลังอัดจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงวันแรกๆ ถ้าได้รับการบ่มที่ดี กำลังอัดจะยังเพิ่มขึ้น หลัง 28 วัน หากได้รับการบ่มที่ดี แต่อัตราการเพิ่มจะช้าลง หากขาดความชื้น กำลังอัดจะเพิ่มขึ้นอีกระยะหนึ่งเพราะความชื้นที่เหลืออยู่ แต่หลังจาก 28 วัน กำลังจะไม่เพิ่มขึ้นอีก และมีแนวโน้มที่จะลดต่ำลง ผลการบ่มต่อการพัฒนากำลังอัดของคอนกรีต

  5. แนวโน้มกำลังอัดของคอนกรีตแนวโน้มกำลังอัดของคอนกรีต บ่มชื้น 28 วัน แล้วบ่มต่อในอากาศ บ่มชื้นแบบต่อเนื่อง 7 14 28 90 180 อายุคอนกรีต (วัน)

  6. อุณหภูมิที่ใช้บ่มมีผลต่อการพัฒนากำลังอัด ในรูปแบบที่ค่อนข้างซับซ้อน การหล่อคอนกรีตที่อุณหภูมิสูงจะทำให้อัตราการพัฒนากำลังอัดเกิดขึ้นรวดเร็วในระยะต้นแต่จะช้าลงในระยะหลังเพราะการเกิดปฏิกิริยาไฮเดรชันอย่างรวดเร็วจะทำให้การกระจายตัวของซีเมนต์เจล (Cement gel)ไม่สม่ำเสมอ ทำให้เกิดเป็นโครงสร้างที่ไม่แข็งแรง อุณหภูมิกับการพัฒนากำลังของคอนกรีต

  7. การหล่อและบ่มที่อุณหภูมิต่างๆ กัน กำลังอัดของคอนกรีตจะสูงตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นแต่เมื่ออายุ 3- 28 วัน สถานการณ์จะเปลี่ยนไปมากที่อายุหนึ่งๆ จะมีอุณหภูมิเหมาะสม (Optimum temperature) ที่จะทำให้คอนกรีตมีกำลังอัดสูงสุด โดยจะลดลงเมื่ออายุคอนกรีตเพิ่มขึ้น อิทธิพลของอุณหภูมิต่อการพัฒนากำลังของคอนกรีต

  8. การหล่อและบ่มที่อุณหภูมิต่างๆ กัน 28วัน 14วัน 7วัน 3วัน

  9. W. H. PRICE ได้ทดลองหล่อตัวอย่างคอนกรีตที่อุณหภูมิ 10 0 C ทิ้งไว้ 24ชั่วโมง ก่อนที่จะนำไปบ่มต่อที่อุณหภูมิต่างๆกัน และพบว่า กำลังอัดของคอนกรีตจะสูงตามอุณหภูมิที่ใช้บ่ม การหล่อที่อุณหภูมิต่ำ แต่บ่มและทดสอบที่อุณหภูมิที่สูงกว่า

  10. การหล่อที่อุณหภูมิต่ำแต่บ่มและทดสอบที่อุณหภูมิที่สูงกว่าการหล่อที่อุณหภูมิต่ำแต่บ่มและทดสอบที่อุณหภูมิที่สูงกว่า

  11. การบ่มคอนกรีต แบ่งได้ 2ประเภทใหญ่ๆ 1. การบ่มในห้องปฏิบัติการ 2. การบ่มในสถานที่ก่อสร้าง วิธีบ่มคอนกรีต

  12. มี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1สำหรับชิ้นตัวอย่างที่มีขนาดเล็ก นำตัวอย่างคอนกรีตไปแช่ในน้ำที่สามารถเพิ่มอุณหภูมิของน้ำในถังบ่มคอนกรีตและควบคุมอุณหภูมิของน้ำได้ การบ่มคอนกรีตในห้องปฏิบัติการ

  13. วิธีที่2สำหรับชิ้นตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่วิธีที่2สำหรับชิ้นตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ นำตัวอย่างคอนกรีตไปเก็บในห้องบ่ม ซึ่งจะมีเครื่องฉีดพ่นน้ำให้เป็นฝอย เพื่อให้อากาศในห้องมีความชื้นสัมพัทธ์ 100 %หรือเพิ่มอุณหภูมิการบ่มโดยใช้ไอน้ำร้อน

  14. แบ่งได้ 2 หลักการใหญ่ๆ คือ 1. การเพิ่มความชื้นให้แก่คอนกรีต 2. การป้องกันการเสียน้ำจากคอนกรีต การบ่มคอนกรีตในสถานที่ก่อสร้าง

  15. เป็นการรักษาผิวหน้าคอนกรีตให้ชื้น หลังจากที่คอนกรีตแข็งตัวแล้วโดย: การขังน้ำ หรือ หล่อน้ำ (Ponding) หลังเทคอนกรีต 24 ชม. ใช้ดินเหนียวหรือก่ออิฐทำเป็นทำนบปิดกั้นโดยรอบ แล้วปล่อยให้น้ำขังบนคอนกรีต วิธีนี้เหมาะสำหรับงานคอนกรีตที่หล่อเป็นแผ่นราบ เช่น แผ่นพื้น ดาดฟ้า พื้นถนน ทางเท้า การเพิ่มความชื้นให้แก่คอนกรีต

  16. การบ่มคอนกรีตโดยการขังน้ำหรือหล่อน้ำ การบ่มคอนกรีตโดยการขังน้ำหรือหล่อน้ำ

  17. การฉีดพ่นน้ำหรือรดน้ำ (Sprinkling) โดยใช้อุปกรณ์พ่นน้ำ (Sprinkler) ฉีดพ่นน้ำลงบนผิวคอนกรีตให้เปียกชุ่มตลอดเวลา วิธีนี้ใช้ได้กับงานคอนกรีตทุกชนิด ทั้งในแนวราบหรือแนวเอียง แต่จะเปลืองน้ำ จึงไม่เหมาะกับสถานที่ก่อสร้างที่ขาดแคลนน้ำ

  18. วิธีนี้ต้องสิ้นเปลืองน้ำมาก และต้องอาศัยที่ที่มีแรงดันน้ำมากพอ การฉีดน้ำหรือรดน้ำ

  19. การใช้วัสดุเปียกชื้นคลุม (Wet Covering) ใช้ผ้าใบ กระสอบป่าน หรือวัสดุอมน้ำอื่นๆ คลุมให้ทั่วแล้วราดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ

  20. เป็นการป้องกันไม่ให้ความชื้นในคอนกรีตระเหยออกไปภายนอก โดย: การบ่มโดยใช้ไม้แบบ ไม้แบบช่วยป้องกันการสูญเสียความชื้นได้ดีจึงควรรักษาไม้แบบไว้ให้นานที่สุดหลังถอดแบบแล้วค่อยหาวิธีอื่นบ่มต่อไป การป้องกันการเสียน้ำจากคอนกรีต

  21. การบ่มคอนกรีตโดยใช้ไม้แบบการบ่มคอนกรีตโดยใช้ไม้แบบ

  22. การใช้กระดาษกันน้ำซึมคลุม เป็นกระดาษเหนียวสองชั้น ยึดติดกันด้วยกาวยางมะตอยและเสริมความเหนียวด้วยใยแก้วยืดหดตัวไม่มากเมื่อเปียกและแห้งใช้ปิดผิวคอนกรีตให้สนิท ข้อควรระวังคือ บริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นต่อแผ่นของกระดาษจะต้องผนึกติดกันด้วยกาวหรือเทปและกระดาษต้องไม่ขาดหรือชำรุด

  23. การใช้แผ่นพลาสติกปิดคลุมการใช้แผ่นพลาสติกปิดคลุม ใช้งานเช่นเดียวกับกระดาษกันน้ำแต่น้ำหนักเบากว่าทำให้ใช้สะดวก รวดเร็วแต่ต้องระวังเพราะฉีกขาดง่ายและต้องใช้ของหนักทับเพื่อป้องกันลมปลิว

  24. การใช้แผ่นพลาสติกปิดคลุมการใช้แผ่นพลาสติกปิดคลุม

  25. การใช้สารเคมี (Sealing Compound) เคลือบผิวคอนกรีต สารเคมี มีทั้งแบบใส และแบบมีสี พ่น หรือทา เคลือบบนผิวคอนกรีตเหมาะสำหรับงานที่มีพื้นที่ผิวมากๆ เช่น ถนน หลังคาเปลือกบาง ถ้าใช้แบบใสอาจสับสนว่าทาแล้ว หรือยังไม่ได้ทา

  26. การบ่มคอนกรีตด้วยไอน้ำจะช่วยเร่งให้คอนกรีตมีกำลังขึ้นสูงในช่วง 1 - 2 วันแรก เพื่อให้คอนกรีตมีกำลังสูงพอที่ให้ความปลอดภัยต่อการถอดแบบและขนย้ายเท่านั้น เพราะกำลังอัดในช่วงปลายจะไม่พัฒนาขึ้นได้สูง การบ่มด้วยไอน้ำความดันต่ำ(Low Pressure Steam Curing)

  27. อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการบ่มด้วยไอน้ำ ~65oC ถึง80oCนอกจากอุณหภูมิที่ใช้บ่มแล้วที่สำคัญอีกอย่างคือ เวลาการบ่มซึ่งประกอบด้วยช่วงเวลาการค่อยๆ เพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้น เวลาที่อุณหภูมิขึ้นสูงสุดและเวลาการลดอุณหภูมิลงสู่อุณหภูมิปกติ การบ่มคอนกรีตด้วยไอน้ำความดันต่ำที่อุณหภูมิต่างๆ

  28. หลังการหล่อควรทิ้งคอนกรีตไว้ที่อุณหภูมิปกติประมาณ2 ถึง 6 ชม. เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาไฮเดรชันเบื้องต้นก่อนอัตราการเพิ่มอุณหภูมิไม่ควรเกิน 30oCต่อ ชม. เวลาที่คอนกรีตอยู่ภายใต้อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 12 ชม. ส่วนอัตราการลดอุณหภูมิหลังการบ่มมีความสำคัญน้อย แต่ปกติใช้อัตราการลดอุณหภูมิ ~ 20oC ถึง 30oCต่อชั่วโมง การควบคุมอุณหภูมิ

  29. หากต้องการบ่มคอนกรีตด้วยอุณหภูมิเกิน 100oCจะต้องให้ความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ โดยต้องบ่มในภาชนะบ่มที่ปิดสนิท ซึ่งมีชื่อว่า Autoclave อุณหภูมิที่ใช้อยู่ในช่วง 160oC ถึง 200oC ที่ความดัน 6 - 20 ความดันบรรยากาศ การบ่มคอนกรีตด้วยไอน้ำความดันสูง(High Pressure Steam Curing)

  30. สารประกอบที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีภายใต้ภาวะดังกล่าวมีคุณสมบัติต่างจากสารประกอบที่เกิดขึ้นจากการบ่มที่อุณหภูมิต่ำกว่า 100oCและมีผลดีที่สำคัญ คือ สามารถใช้คอนกรีตได้ภายใน 24 ชม. เพราะคอนกรีตมีกำลังสูงเท่าเทียมกับการบ่มปกติ 28วันมีการหดตัว หรือ การล้า (Creep) ลดลงมากทนเกลือซัลเฟตได้ดีขึ้นกำจัดการเกิดขึ้นของเกลือ (Efflorescence) ที่ผิวคอนกรีตให้มีความชื้นต่ำหลังการบ่ม

  31. §§§§ อาจารย์ สิทธิชัย พิริยคุณธร §§§§ §§§§ และเพื่อนๆทุกๆคนที่รับชมและรับฟัง §§§§ ขอขอบคุณ

More Related