360 likes | 758 Views
สัญญาและหลักประกัน. สัญญา. สัญญา หมายถึง การใด อันได้กระทำลง โดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ. รูปแบบของสัญญา. 1. เต็มรูป (ข้อ 132)
E N D
สัญญา สัญญาหมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132) 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา
การทำสัญญา (ตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด) • การกำหนดเงื่อนไข • การกำหนดข้อความหรือรายการที่แตกต่าง • จากตัวอย่างของ กวพ. • การร่างสัญญาใหม่ • การทำสัญญาเช่า ที่ต้องผ่าน สนง. อัยการสูงสุด
เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68) 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง
ข้อตกลงสัญญา • วัตถุประสงค์ของสัญญาที่คู่สัญญาได้ตกลงกัน • เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคา • เงื่อนไขพิเศษ (ของแถม) ต้องกำหนดไว้ในสัญญา ให้ชัดเจนด้วย
การจ่ายเงินล่วงหน้า • หลัก จ่ายไม่ได้ • ข้อยกเว้น • มีความจำเป็นจะต้องจ่าย • มีกำหนดเงื่อนไขไว้ในเอกสารสอบราคา หรือประกวดราคา ก่อนการทำสัญญาหรือข้อตกลง • จ่ายได้เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
ซื้อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ จ่ายได้ 50% ซื้อจากต่างประเทศ จ่ายตามที่ผู้ขายกำหนด การบอกรับวารสาร/สั่งจองหนังสือ/ จ่ายเท่าที่จ่ายจริง ซื้อข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์/บอกรับสมาชิกอินเทอร์เน็ต ซื้อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่ายได้ 15% (ต้องกำหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศด้วย) ซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษ จ่ายได้ 15% หลักเกณฑ์การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68)
การจ่ายเงินล่วงหน้า กรณีสอบราคา/ประกวดราคา/วิธีพิเศษ ต้องวางหลักประกันการจ่ายล่วงหน้าเป็น - พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ - หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ยกเว้น การจ่ายเงินล่วงหน้าค่าซื้อพัสดุ จากต่างประเทศ ค่าบอกรับวารสารฯ ไม่ต้องเรียกหลักประกัน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 70)
ทำเป็นบันทึกข้อตกลงได้ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ กรณีดังนี้ ซื้อ /จ้าง แลกเปลี่ยน โดยวิธีตกลงราคา หรือ การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง ไม่เกิน 100,000 บาท คู่สัญญา ตกลงส่งของได้ครบถ้วน ภายใน 5 วันทำการ นับจาก ทำข้อตกลง ซื้อ/จ้าง วิธีกรณีพิเศษ หรือจัดหาจากส่วนราชการ ซื้อ / จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ 23 (1)-(5) หรือ 24 (1)-(5) กรณีทำข้อตกลง/ไม่ทำตามแบบสัญญา (ข้อ 133)
กรณีทำข้อตกลง/ไม่ทำตามแบบสัญญา (ข้อ 133) (ต่อ) ข้อ 23 ซื้อวิธีพิเศษ • พัสดุขายทอดตลาดโดย สรก. • เร่งด่วน • ราชการลับ • จำเป็นซื้อเพิ่ม • ซื้อจากต่างประเทศ ข้อ 24 จ้างวิธีพิเศษ • จ้างช่างฝีมือโดยเฉพาะ • ซ่อมพัสดุจำเป็น • เร่งด่วน • ความลับราชการ • จำเป็นต้องจ้างเพิ่ม
กรณีทำข้อตกลง/ไม่ทำตามแบบสัญญา (ข้อ 133) (ต่อ) • การเช่าที่ไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า ข้อยกเว้นการจัดหาวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท /การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคากรณีจำเป็นเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง
กรณีซื้อ /จ้างไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01- 0.20 ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีการจ้างที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 - 0.10 ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท จ้างก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ค่าปรับรายวันเป็นจำนวนเงินตายตัวอัตราร้อยละ 0.25ของราคา งานจ้าง การจ้างที่ปรึกษา ปรับรายวันในอัตรา/จำนวนเงินตายตัว ร้อยละ 0.01- 0.10 ของราคางานจ้าง การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ 134)
เมื่อครบกำหนดสัญญา /ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ การนับวันปรับนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง เมื่อส่งมอบของ/งาน เกินกำหนดตามสัญญาต้องสงวนสิทธิปรับ เงื่อนไขสัญญาซื้อเป็นชุด ให้ปรับรวมทั้งชุด สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด การแจ้งและการคิดค่าปรับตามสัญญา
การส่งสำเนาสัญญา • หัวหน้า สรก. ส่งสำเนาสัญญา/ข้อตกลงเป็นหนังสือ มูลค่าตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ให้ สตง./สตง.ภูมิภาค (แล้วแต่กรณี) และกรมสรรพากร ภายใน 30 วัน นับแต่วันทำสัญญา หรือข้อตกลง (ข้อ 135)
กรณีใดบ้างที่ทำให้สัญญามีผลย้อนหลังกรณีใดบ้างที่ทำให้สัญญามีผลย้อนหลัง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ)0408.4/ว 351 ลว 9 กันยายน 2548 หลักเกณฑ์ • การเช่าหรือการจ้างต่อเนื่องกับผู้รับจ้างรายเดิม • ส่วนราชการรู้ตัวผู้ให้เช่าหรือผู้รับจ้าง/ผู้มีอำนาจอนุมัติแล้ว • ไม่สามารถลงนามในสัญญาได้ทันในวันที่ 1 ตุลาคม ของปีงบประมาณใหม่
สัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) • กำหนดในประกาศประกวดราคางานก่อสร้าง • กำหนดในสัญญาว่ามีการปรับราคาให้ตรงกับประกาศ • ประกาศกำหนด แต่สัญญาไม่กำหนด ใช้แบบปรับราคาไม่ได้
ตัวอย่างสัญญา • สัญญาจ้างทั่วไป • สัญญาเช่า • สัญญาซื้อขาย • สัญญาจ้างเหมาบริการ • สัญญาจ้างที่ปรึกษา
การนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญาการนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา • ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 130 ลว 20 ตุลาคม 2549 หลักการ * ผู้เสนอราคานำหลักประกันซองตามระเบียบฯ ข้อ 141 (1) เงินสด และ (2) เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย เป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้น หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทำการ * ผู้เสนอราคารายนั้นได้รับคัดเลือกเข้าทำสัญญา * ผู้เสนอราคาประสงค์จะนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา
การนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา (ต่อ) • เงื่อนไข วันทำสัญญา ส่วนราชการต้องจัดทำหลักฐานการคืนหลักประกันซอง และหลักฐานการวางหลักประกันให้เสร็จภายในวันทำสัญญา โดยคู่สัญญาต้องนำหลักประกันซอง (เพิ่ม-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา
หลักประกันที่รับไว้สำหรับการซื้อ/จ้าง วิธีประกวดราคา หลักประกันความเสียหายในการผิดเงื่อนไขในการเสนอราคา หลักประกันซอง
หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ตกลงขาย/รับจ้าง ประกันความเสียหายการผิดเงื่อนไขตามข้อกำหนด ในสัญญาจนกว่าจะสิ้นสุดการผูกพันตามสัญญา พ้นกำหนดข้อผูกพัน ต้องคืนอย่างช้าไม่เกิน 15 วัน หลักประกันสัญญา
หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญาหลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา • ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1. เงินสด 2. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย 3. หนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ 4. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน 5. พันธบัตรรัฐบาลไทย
หลักประกัน (ข้อ 141) หลักประกันสัญญา หลักประกันซอง • เงินสด • เช็คที่ธนาคารสั่งจ่าย • หนังสือค้ำประกัน ธ • หนังสือค้ำประกัน บ • พันธบัตรรัฐบาลไทย • หลักประกันที่ใช้กับสัญญา • หนังสือค้ำประกันธนาคาร • ต่างประเทศ (กรณีประกวด • ราคานานาชาติ)
การนำหลักประกันซองมากกว่า 1 อย่าง มารวมกันเพื่อใช้เป็นหลักประกันซองในงานจ้างเหมาเดียวกัน ได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัย * ตามระเบียบฯ ข้อ 141 กำหนดว่า “หลักประกันซองหรือหลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด” เจตนารมณ์ตามระเบียบฯ ให้เลือกหลักประกันอย่างใดก็ได้ ดังนั้น หากใช้หลักประกันตามที่กำหนดไว้ในข้อ 141 รวมกัน ก็ย่อมกระทำได้
หลักประกันผลงาน • การหักเงินประกันผลงาน (ตัวอย่างสัญญาจ้างข้อ 6) • สามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม • หักได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนั้นๆ • หักไว้ไม่ต่ำกว่า 6 เดือน ผู้รับจ้างจึงมีสิทธิขอรับเงินประกันผลงานคืน โดยต้องนำหนังสือค้ำประกันของธนาคารมาวางเพื่อเป็นหลักประกันแทนการคืนหลักประกัน พร้อมกับการจ่ายเงินงวดสุดท้าย
มูลค่าหลักประกัน • ร้อยละ 5ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น • เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญา / ผู้เสนอราคา - ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดระยะเวลาค้ำประกันแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดระยะเวลาค้ำประกัน • ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพอ) 0408.4/ว 124 ลว 9 เมษายน 2550 • กวพอ. • สาระสำคัญ • ให้หน่วยงานกำหนดวันเสนอราคา ในเอกสารประกวดราคา ตัวอย่าง หน่วยงานผู้จัดหาพัสดุกำหนดให้ผู้เสนอราคาเข้ายื่นซองด้านเทคนิควันที่ 20 เมษายน 2552 กำหนดเสนอราคาวันที่ 30 เมษายน 2552 และกำหนดยืนราคา 30 วัน นับแต่วันยืนยันราคาสุดท้าย หนังสือค้ำประกันจะครบกำหนดเมื่อใด
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดระยะเวลาค้ำประกันแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดระยะเวลาค้ำประกัน • หลักประกันซองต้องมีระยะเวลาการค้ำประกัน ตั้งแต่วันยื่นซองข้อเสนอด้านเทคนิคครอบคลุมไปจนถึงวันสิ้นสุดการยืนราคา • การนับระยะเวลาค้ำประกัน ให้นับแต่วันที่ 30 เมษายน 2552 เป็นวันแรก ดังนั้น วันสิ้นสุดการยืนราคาคือ วันที่ 29 เมษายน 2552
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลางโทร. 02-298-6300-5e-mail : opm@cgd.go.th