1 / 88

บทที่ 11 โพลิเมอร์

บทที่ 11 โพลิเมอร์. Polymers. 1302 2 12 Engineering materials Assistant Professor Sukangkana Lee. จุดประสงค์การเรียนรู้. นิยาม โพลิเมอร์ ได้ ระบุและอธิบายคุณสมบัติทั่วไป ของ โพลิเมอร์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผลึกเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นได้

boris-dean
Download Presentation

บทที่ 11 โพลิเมอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 11โพลิเมอร์ Polymers 1302 212Engineering materials Assistant Professor Sukangkana Lee

  2. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • นิยามโพลิเมอร์ ได้ • ระบุและอธิบายคุณสมบัติทั่วไป ของโพลิเมอร์ • วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผลึกเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นได้ • อิบายความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติทางกลกับอุณหภูมิได้ • อธิบายและวาดแสดงโครงสร้างผลึกอย่างง่ายของโพลิเมอร์ ได้ • จำแนกชนิดของโพลิเมอร์ และการใช้งาน • ตะหนักถึงความสำคัญของวัสดุโพลิเมอร์ ในงานทางด้านวิศวกรรมและในชีวิตประจำวัน

  3. 1. Introduction • Polymers มาจากภาษากรีกpoly แปลว่า “many” และmeros แปลว่า “parts”

  4. Natural polymers Natural polymers are found in many forms such as • horns of animals, • tortoise shell, • shellac (ขี้ผึ้ง), • rosin (ชันสน), • asphalt, • and tar from distillation of organic materials

  5. One of the most useful of the natural polymers was rubber, obtained from the sap of the hevea tree (ยางพารา). • Rubber was named by the chemist Joseph Priestley who found that a piece of solidified latex gum was good for rubbing out pencil marks on paper (ยางลบ).

  6. Synthetic Polymers • Natural rubber had only limited use as it became brittle in the cold and melted when warmed. • In 1839, Charles Goodyear discovered, through a lucky accident, that by heating the latex with sulfur, the properties were changed making the rubber more flexible and temperature stable. • That process became known as vulcanization.

  7. วิวัฒนาการของอุตสาหกรรมโพลิเมอร์วิวัฒนาการของอุตสาหกรรมโพลิเมอร์ • พ.ศ. 2411 John Wesley Hyatt ค้นพบเทอร์โมพลาสติกชนิดแรกในโลก คือ Celluloid (การบูร+เซลลูโลสไนเตรท) ปัจจุบันนิยมนำมาผลิต ลูกปิงปอง, กีตาร์ปิก แผ่นฟิล์มภาพยนตร์ เป็นต้น • พ.ศ. 2452 เบกคาไลท์ หรือ Phenol formadehyde (Thermosetting ชนิดแรก) ค้นพบโดย Leo Baekeland ปัจจุบันนิยมนำมาผลิต หูกระทะ ด้ามทัพพี เป็นต้น

  8. บทเรียน online • ประวัติและวิวัฒนาการของพลาสติก • http://www.bpf.co.uk/Plastipedia/Plastics_History/Default.aspx

  9. การจัดเรียงตัวของโพลิเมอร์การจัดเรียงตัวของโพลิเมอร์ • Polymer เป็นวัตถุอินทรีย์มีโมเลกุลขนาดใหญ่ที่ เกิดจากการรวมตัวกันของดมเลกุลขนาดเล็ก ของธาตุ C, N, O, H, S, Si, F and Cl เป็นต้น • เกิดจากการสังเคราะห์จากวัสดุธรรมชาติ และ ในห้องปฏิบัติการ Monomer 1 nm Polymer chain 0.1-1 um

  10. ลักษณะโมเลกุลของ Polymer มี 3 แบบ • เป็นสายยาว (Linear polymer chain) 10-100 nm

  11. (b) สายยาวที่มีสาขา (Branched polymer chain) 10 nm

  12. (c) ตาข่าย 3 มิติ (Cross-linked polymer) 100 nm

  13. โครงสร้างของ Polymer • Amorphous • Partial Crystalline

  14. 1. แบบอสัณฐาน (Amorphous) • โครงสร้างโดยรวมเป็นการรวมกันของโมเลกุลสายยาว ไม่มีสมมาตร เป็นการจัดเรียงตัวของอะตอมที่ไม่แน่นอนเหมือนของเหลว • เมื่อเราให้ความร้อน จะไม่ปรากฎจุดหลอมเหลวที่ชัดเจน แต่จะค่อยๆ กลายเป็นของเหลว

  15. 2. แบบกึ่งผลึก (Partially crystalline) • สายโมเลกุลรวมกันแบบมีสมมาตรบางส่วน ซึ่งมักจะเกิดกับโมเลกุลที่มีสาขา เพราะสาขาเล็กๆ จะไม่สามารถอยู่บิดเบี้ยวได้ • เมื่อให้ความร้อน ความเป็นผลึกจะเสียไป กลายเป็นโพลิเมอร์ที่นิ่ม • จุดหลอมเหลว คือ อุณหภูมิที่ทำให้การจัดเรียงตัวแบบผลึกหายไป Folded linear amorphous

  16. ปริมาณความเป็นผลึก (%Crystallinity) • จะส่งผลถึงสมบัติทางกลของโพลิเมอร์ กล่าวคือ ถ้าเป็นผลึกมาก ก็จะมีค่า Modulus of Elasticity มากตามไปด้วย • โพลิเมอร์ที่มี %crystallinity มาก จะมีความแข็งแกร่งมากเพราะอะตอมจะอยู่ชิดกันมากกว่าโพลิเมอร์ที่มี %crystallinity น้อย • โพลิเมอร์ที่มี %crystallinity น้อย จะสามารถดัด แอ่น ได้มาก และมี Modulus of Elasticity น้อย

  17. Semi-Crystalline ความหนาแน่นสูง ทนสารเคมี กรด ด่าง ได้ดี ทนร้อน แข็งแรง Amorphous ความหนาแน่นต่ำ แสงผ่านได้ เหนียว ขึ้นรูปง่าย ไม่ทนร้อน ไม่ทนแดด

  18. 2. คุณสมบัติทั่วไป • ความหนาแน่นต่ำประมาณ 0.9-1.5 g/cm3 • ทนต่อสารเคมีได้ดี ทนต่อเกลือ กรด ด่าง ได้หลายชนิด • ไม่ทนความร้อน พลาสติกส่วนมากจะละลายที่ 150-250 °C (ยกเว้น ซิลิโคน) • เป็นฉนวนไฟฟ้า และฉนวนความร้อน • Thermosettingplastic จะคงรูปที่อุณหภูมิสูง • Thermoplastic จะขึ้นรูปที่อุณหภูมิต่างๆได้ • Elastomer จะมีความยืดหยุ่นสูงที่อุณหภูมิห้อง

  19. Polymerization • กระบวนการสังเคราะห์โพลิเมอร์ เป็นกระบวนการที่ทำให้โมโนเมอร์ กลายเป็น โพลิเมอร์ แบ่งได้เป็น 2 วิธีหลัก คือ • Addition Polymerization • Condensation Polymerization

  20. Addition Polymerization กระบวนการ addition Polymer มี สาม ขั้นตอนคือ • Initiation เป็นการสังเคราะห์โมโนเมอร์ (Monomer) สารโมเลกุลเดี่ยวจากวัตุดิบ • Propagation เป็นกระบวนการที่ โมเลกุลเดี่ยวรวมตัวกันเป็น Polymer (ตั้งแต่ 2 monomers ขึ้นไป) หรือ High Polymers (ไม่ต่ำกว่า 500 monomers) • Termination เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการปิด polymer chain เช่น ด้วย –OH or –H

  21. PolymerizationProcess • เติม Monomer หลายล้านโมเลกุล และ ตัวเร่งปฏิกิริยา ในเตา Reactor จากนั้นให้ความร้อน และความดันเพื่อทำลายพันธะคู่ ของแต่ละ Monomer ให้เป็นพันธะเดี่ยว • Monomer จะทำปฏิกิริยากับโมเลกุลอื่น ต่อเป็นสายยาว • ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กันหลายล้านโมเลกุล จนกว่า Monomer จะหมดไป (polymer ทางการค้า ทั่วไปจะมี monomer ประมาณ 103 ถึง 105) • ความยาวของ Polymer ที่ได้จะขึ้นอยู่กับปริมาณของ H atom

  22. H H C-C H H H H C-C H H H H C-C H H H H C-C H H H H C-C H H H H C-C H H OH OH ตัวอย่าง polymerization of Polyethylene Ethylene monomer Ethane Gas H H H H H-C-C-H C=C + H2 H H H H 1. Initiation Heat, Pressure 2. Propagation Rearrangement of double bond Ethylene monomer H H H H C=C C -C H H H H Heat, Pressure Catalyst H2 + Polyethylene 3. Termination Terminator

  23. ความหนืด • ดีกรีความเป็นโพลิเมอร์ หรือ Degree of polymerisation วัดจาก จำนวน Monomer ที่เหมือนกัน (repeated unit) ที่มาต่อกัน • Commercial polymer ทั่วไปจะมี monomer ประมาณ 103 ถึง 105

  24. 2. Condensation Polymerization • เกิดจากการนำโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดมาทำปฎิกิริยาแยกน้ำออก ภายใต้ความดันและอุณหภูมิ • ปลายของโซ่โมเลกุลชนิดนี้จะยังสามารถทำปฏิกิริยาได้อีก และกลายเป็นไฮโมเลกุลรูปตาข่าย 3 มิติไขว้กัน(Crosslink) O II H I O II H I OH-C-(CH2)8-C-OH + H-N-(CH2)6-N-H H2O

  25. Condensation Polymerization

  26. www.ndt-ed.org

  27. 3. อิทธิพลของอุณหภูมิต่อสมบัติทางกล • โดยทั่วไป ที่อุณหภูมิต่ำ โพลิเมอร์จะมีคุณสมบัติเป็นของแข็ง • เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จะกลายเป็น อ่อน เหนียว คล้ายยาง • อุณหภูมิ ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยน จาก แข็งคล้ายแก้ว ไปเป็น เหนียว คล้ายยาง เรียกว่า ‘Glass transition temperature, Tg’(เช่นเดียวกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนจากเหนียวเป็นเปราะ ในเหล็ก) Below Tg Stress Above Tg Strain

  28. กระบวนการเปลี่ยนรูปของโพลิเมอร์กระบวนการเปลี่ยนรูปของโพลิเมอร์ มีค่า modulus สูงสุด วัสดุจะแข็ง มีค่า modulus ต่ำลง วัสดุจะอ่อนตัว เป็นช่วงยืดหยุ่น เป็นช่วงเปลี่ยนรูป ถาวร Glassy Leathery Rubbery กลายเป็นของเหลว Rubbery flow Log Elastic Modulus, Nm-2 Liquid Elastomers อุณหภูมิการขึ้นรูปของThermoplastic Tg Tm Temperature

  29. (a) (b) Crystalline Log Tensile Modulus High cross-linkage Some cross-linkage Amorphous Tg Tm Temperature

  30. การจำแนกประเภทของโพลิเมอร์การจำแนกประเภทของโพลิเมอร์

  31. 4. ประเภทของพลาสติก 1. Thermoplastics • เกิดจากกระบวนการPolymerization โครงสร้างจะเป็น อสัณฐาน (Amorphous) คือโมเลกุลเดี่ยวต่อกันเป็นลูกโซ่ยาว พลาสติกชนิดนี้จะอ่อนตัวและสามารถขึ้นรูปได้เมื่ออุณหภูมิสูง

  32. ถ้าหากลูกโซ่โมเลกุลมีการเรียงตัวขนานกันและอัดกันแน่นด้วย แรง Van der Waal’s force (ปลายของแต่ละลูกโซ่จะไม่ต่อกัน) มีความหนาแน่นสูง พลาสติกชนิดนี้จะมีสีใสเหมือนแก้ว จะเหนียว และแข็งแรง รับแรงกระแทกได้ดี • ถ้าหากแนวโมเลกุลเรียงขนานกันบางช่วง ทำให้ความหนาแน่นต่ำ แรงระหว่างโมเลกุลลดลง จะมีสีขุ่น ทึบแสง รับแรงกระแทกได้น้อย

  33. ตัวอย่าง Thermoplastics 1. Polyethylene (โพลีเอทิลีน) เรียกย่อว่า PE มีความยืดหยุ่นดีมีทั้งแบบอ่อน และแบบแข็งได้แก่ • Low Density Polyethylene (LDPE)มีความต้านทานการกัดกร่อนดี กันความชื้นได้ดี ความแข็งแรงต่ำ และมีความยืดหยุ่นสูง นิยมใช้ในการผลิต bags, bottles, and liners. • High Density Polyethylene (HDPE)เป็นกลุ่มที่นิยมใช้มากที่สุด รับแรงกระแทกได้ดี น้ำหนักเบา ดูดซับความชื้นน้อย มีความแข็งแรงสูง ไม่เป็นพิษ บรรจุอาหารได้ • Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW PE)น้ำหนักเบา มีความแข็งแรงสูง กลึงไสได้เช่นเดียวกับไม้ ใช้ในงานเครื่องจักกลที่ทนต่อการสึกหรอ ต้านทานต่อแรงขัดสี และการกัดกร่อน

  34. 2. Polyvinyl Chlorideเรียกย่อว่า PVCไม่มีสี ย้อมสีได้ ทนต่อน้ำมัน จารบี กรด และด่าง ปกติ PVC จะแข็ง แต่เมื่อผสมสารที่ทำให้อ่อนตัวจะฉีดขึ้นรูปและปาดผิวได้ ถ้าเติมสารที่ทำให้อ่อนตัวมากจะกลายเป็น PVC อ่อน หรือหนังเทียม Ex. ท่อน้ำ, แผ่นพลาสติกบาง, แผ่นเสียง, ของเด็กเล่น

  35. 3. Polypropyleneเรียกย่อว่า PPมีคุณสมบัติคล้ายกับ PE แต่ทนความร้อนได้สูงกว่า แต่เปราะที่อุณหภูมิต่ำ ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ชิ้นส่วนรถยนต์ ได้จากกระบวนการ polymerization ของ Propylene (C3H6) สัญลักษณ์การนำกลับมาใช้ใหม่ Propylene

  36. 4. Acrylonitrile-Butadiene-Stryreneเรียกย่อว่า ABS เหนียว ทนต่อการกระแทกได้ดีความต้านแรงดึงสูง ใช้ทำใบพัดลม หมวกกันน็อค อุปกรณ์สุขภัณฑ์ 5. Polymethylmethacrylateเรียกย่อว่า PMMA หรือ plexiglass ทนแดด ทนต่อบรรยากาศ แข็งและเหนียว รอยแตกไม่แหลมคม จึงนิยมนำมานำแผ่นแก้วนิรภัย ฝาครอบไฟท้าย ไฟเลี้ยวยานยนต์

  37. โพลิสไตรีน (Polystyrene: PS) • Polystyrene was discovered in 1839 by Eduard Simon • มีลักษณะโปร่งใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้ำและอากาศซึมผ่านได้พอควร ใช้ทำชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้สำนักงาน เป็นต้น

  38. Expanded polystyrene is produced from a mixture of about 90-95% polystyrene and 5-10% gaseous blowing agent, The solid plastic is expanded into a foam through the use of heat, usually steam. • Extruded polystyrene (XPS), or Styrofoamhas low thermal conductivity. It is widely used as a thermal insulator in the building.

  39. 2. Thermosetting Plastics • เกิดจากการนำโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดมาทำปฎิกิริยาแยกน้ำออก ภายใต้ความดันและอุณหภูมิ เรียกว่า ‘Polycondensation’ • ปลายของโซ่โมเลกุลชนิดนี้จะยังสามารถทำปฏิกิริยาได้อีก และกลายเป็นไฮโมเลกุลรูปตาข่าย 3 มิติไขว้กัน จะทำให้ได้พลาสติกที่มีพันธะที่แข็งแรง และคงรูป หลังจากการเย็นตัว

  40. เมื่อได้รับความร้อนจะยืดหยุ่น แต่ถ้าสูงเกินไป หรือนานเกินไป จะทำให้โมเลกุลขาดจากกัน และแข็งเปราะ ไม่สามารถขึ้นรูปได้

  41. ตัวอย่าง Thermosetting Plastics • Unsaturated Polyesterเรียกย่อว่า UPไม่มีสี ผิวเป็นมันเงา มีทั้งที่ยืดหยุ่นได้ และแข็งเปราะ Ex. ชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ และตัวเรือ • Epoxy Resinเรียกย่อว่า EPไม่มีสี และมีสีออกเหลืองเหมือนน้ำผึ้ง แข็งและเหนียว จับเกาะวัสดุทุกชนิด ทนการกัดกร่อนได้ดีมาก Ex. ชิ้นส่วนเครื่องบิน กาว • Polyurethaneเรียกย่อว่า PURโปร่งใส สีเหลืองเหนียว และอ่อนเหมือนยาง Ex. โพรียูลีเทนแข็งใช้ทำเฟือง เปลือกรองเพลา โพรียูลีเทนอ่อนใช้ทำ ฟองน้ำเฟอร์นิเจอร์ โพรียูลีเทนเหลวใช้ทำเคลือบเงา

  42. Elastomer ยางจัดเป็น พลาสติกยืดหยุ่น(Elastic hydrocarbon polymer) มีความยืดหยุ่นและความเหนียวสูง แต่ความยืดหยุ่นจะลดลงเมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า -72 C ยางมี สอง ประเภท คือ • ยางธรรมชาติ (Natural rubber) ได้จากต้นพืช • ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber) ได้จากกระบวนการ Polymerization

  43. ยางธรรมชาติ (Natural Rubber, NR) • ส่วนมากได้จากยางพารา สายพันธ์ Hevea Braziliensis มีต้นกำเนิดจากทวีปอเมริกาใต้ • น้ำยางสด (Latex) เมื่อกรีดออกมาจากต้นมีเนื้อยางแห้ง 30%โดยน้ำหนัก แขวนลอยอยู่ในน้ำ • ยางธรรมชาติที่มีขายในท้องตลาด มี 2 รูปแบบ คือ น้ำยาง และ ยางแห้ง Website สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร http://www.rubberthai.com/

  44. กระบวนการปั่นเหวี่ยง + เติมสารเคมีกันบูด น้ำยางสด 30%wt น้ำยางข้น 60%wt 1. น้ำยาง (Latex) : ได้จากการนำน้ำยางสดมาผ่านกระบวนการเหวี่ยงแยกน้ำออกโดยมีเนื้อยาง 60%โดยน้ำหนัก เรียกว่า น้ำยางข้น • ผลิตภัณฑ์จากน้ำยางข้น ได้แก่ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ลูกโป่ง จุกนม ที่นอน เบ้าหล่อปูนพลาสเตอร์ เป็นต้น

  45. 2. ยางแห้ง ได้จากการนำน้ำยางมาเติมกรด ทำให้เนื้อยางจับตัวและแยกตัวออกมาจากน้ำ แล้วจึงทำการไล่ความชื้นออก ได้แก่ 2.1 ยางแผ่น ( Rubber Sheet)แบ่งเป็น ยางแผ่นรมควัน และยางแผ่นไม่รมควัน ยางแผ่นไม่รมควัน ตากแดด น้ำยางเจือจาง 12-18% เติมกรดค่า pH 5.1-4.8 ให้แข็งตัว รีดน้ำออก ด้วยลูกรีด ล้างน้ำ ให้สะอาด ยางแผ่นรมควัน อบรมควัน 50-70c 3 วัน

  46. ยางแผ่นรมควัน (Ribbed Smoked Sheet, RSS) มี 5 ชั้นคุณภาพ ใช้มากที่สุดคือ ชั้นที่ 3 ผลิตภัณฑ์ของยางแผ่นรมควัน เช่น ยางล้อรถยนต์ สายพาน ท่อน้ำ รองเท้า อะไหล่รถยนต์ เป็นต้น

  47. 2.2 ยางเครฟ (Crepe Rubber) • เป็นยางที่ได้จากการนำเศษยางไปรีดด้วยเครื่อง Creping machine แล้วนำไปผึ่งลมให้แห้ง • สีของยางจะเข้ม และมีความบริสุทธิ์แตกต่างกัน

  48. อบให้แห้ง ทำให้เป็น ก้อนเล็ก 2-3 มม. ทำความสะอาด อัดเป็นแท่งมาตรฐาน 330*670*170 มม. น้ำยาง หรือยางแท่ง 2.3 ยางแท่ง (Technically classified rubber) ยางแท่งจะมีคุณภาพสม่ำเสมอมากกว่ายางแผ่น และยางเครฟ แต่ราคาจะสูง

  49. โครงสร้างของยางธรรมชาติโครงสร้างของยางธรรมชาติ โครงสร้างเป็นโมเลกุลตาข่าย ชื่อเคมี คือ cis-1, 4 polyisoprene

More Related