170 likes | 360 Views
Kotler, Philip. (2004) . Ten deadly marketing sins . John Wiley & Son, Inc, Hoboken, New Jersey. . อาจารย์ปริยา รินรัตนากร. คณะนิเทศศาตร์. ไม่รู้จักตลาดมากพอ. แนวทางการแก้ไข. สัญญาณเตือน.
E N D
Kotler, Philip.(2004).Ten deadly marketing sins. John Wiley & Son, Inc, Hoboken, New Jersey.
อาจารย์ปริยา รินรัตนากร คณะนิเทศศาตร์
ไม่รู้จักตลาดมากพอ แนวทางการแก้ไข สัญญาณเตือน แบ่งส่วนตลาดให้ชัดเจน จัดลำดับค.สำคัญของลูกค้า จัดผู้เชี่ยวชาญดูแลแต่ละตลาด ทำวิจัยแต่ละตลาดย่อย ไม่แบ่งตลาดย่อย segmentมองลูกค้ากลุ่มใหญ่โดยรวมไม่จัดลำดับค.สำคัญลูกค้าไม่มีผู้ดูแลแต่ละตลาดย่อย ตัวอย่างบริษัท IBM ได้จัดแบ่งกลุ่มลูกค้าอย่างชัดเจน คือ ธนาคาร ประกันภัย โรงแรม การสื่อสาร และจัดผู้เชี่ยวชาญดูแลแต่ละกลุ่มย่อย
ไม่เข้าใจกลุ่มลูกค้าอย่างถ่องแท้ไม่เข้าใจกลุ่มลูกค้าอย่างถ่องแท้ แนวทางการแก้ไข ขาดการวิจัยกลุ่มลูกค้า เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป ความต้องการของลูกค้าย่อมเปลี่ยนตามไปด้วย การวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลลูกค้ามากกว่าเดิม และจัดเก็บข้อมูลที่ได้อย่างเป็นระบบจึงเป็นสิ่งสำคัญ ไม่รู้ค.ต้องการของลูกค้า เคยทำวิจัยแต่นานมาแล้ว สินค้าของคู่แข่งขายดีกว่า ตัวอย่าง บริษัท เมอร์ซีเดส วิจัย ค.สนใจของลูกค้าที่มีต่อรถยนต์รุ่นใหม่
ไม่กำหนด-ไม่ตรวจสอบคู่แข่งไม่กำหนด-ไม่ตรวจสอบคู่แข่ง สัญญาณเตือน แนวทางการแก้ไข ให้ค.สำคัญกับคู่แข่งที่อยู่ใกล้ มองคู่แข่งให้กว้างไกลกว่าเดิม มีผู้รับผิดชอบรวบรวมข้อมูลคู่แข่ง ตัดข่าวเพื่อสำรวจคู่แข่ง ยื่นข้อเสนอที่ทัดเทียมกับคู่แข่ง ละเลยคู่แข่งที่อยู่ไกล ไม่รวบรวมข้อมูลคู่แข่ง ไม่ใช่มีคู่แข่งแค่
ไม่บริหารค.สัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียไม่บริหารค.สัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สัญญาณเตือน แนวทางแก้ไข ลาออก แบ่งก๊ก คิดลบ ไม่ร่วมมือ พนักงาน พนักงานสัมพันธ์ ซัพพลายเออร์ ได้แค่ตัวรอง สร้างค.สัมพันธ์ ตัวแทนจำหน่าย ไม่ทราบข้อมูล สร้างค.สัมพันธ์
ไม่เชี่ยวชาญการค้นหาโอกาสใหม่ๆไม่เชี่ยวชาญการค้นหาโอกาสใหม่ๆ แนวทางการแก้ไข สัญญาณเตือน อย่าคิดว่าตีบตัน กระตุ้นพนักงาน ให้เกิดแนวคิดใหม่ เห็นแนวคิดนั้นมีคุณค่า ให้ทุนทำวิจัย พัฒนานำไปใช้จริง ช่วงหลายปีที่ผ่านมา องค์กรไม่มีแนวคิดใหม่ๆ หรือแนวคิดใหม่ๆไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร คู่แข่งเคยทำมาก่อน ไม่เคยคิดว่าตลาดกาแฟอิ่มตัวแล้ว
กระบวนการวางแผนไม่มีประสิทธิภาพพอกระบวนการวางแผนไม่มีประสิทธิภาพพอ สัญญาณเตือน แนวทางแก้ไข แผนการตลาด ขาดองค์ประกอบ องค์ประกอบต้องชัดเจน วิเคราะห์สถานการณ์ วิเคราะห์สถานการณ์ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์/กลวิธี งบประมาณ จัดประกวดแผนการตลาด
นโยบายด้านสินค้า-บริการไม่รัดกุมพอนโยบายด้านสินค้า-บริการไม่รัดกุมพอ สัญญาณเตือน แนวทางแก้ไข มีสินค้าหลายชนิดเกินไป แบรนด์ที่ทำกำไรมีน้อย บริการบางชนิดไม่คิดมูลค่า ทำให้เสียรายได้ ดูไม่มีราคา ไม่ขายสินค้าพ่วงสินค้าอื่น ตรวจสอบสินค้าที่ขาดทุน แยกสินค้าที่กำไร-ขาดทุน ตัดสินค้าตายซากออกไป คิดให้ดีบริการใดฟรี-จ่ายเงิน กระตุ้นพนักงานขายสินค้าพ่วง ยูนิลิเวอร์ผลิตสินค้า1600แบรนด์ แต่ทำกำไรจริง 400แบรนด์
ทักษะการสร้างแบรนด์อ่อนเกินไปทักษะการสร้างแบรนด์อ่อนเกินไป เข้าใจองค์กรผิดๆ ไม่รู้จักองค์กร แบรนด์ป่วย สัญญาณเตือน จัดงบแบบเดิมๆ แบรนด์ไม่เด่น ทุ่มงบมากแต่ไม่เข้าถึง ไม่ประเมินผล
ทักษะการสร้างแบรนด์อ่อนเกินไปทักษะการสร้างแบรนด์อ่อนเกินไป ทักษะการสร้างแบรนด์อ่อนเกินไป เครื่องมือสื่อสารหลากหลาย สร้างแบรนด์ให้เด่น แนวทางแก้ไข ทุ่มงบให้PR ทำการประเมินผล สื่อมวลชนสัมพันธ์
ไม่สร้างทักษะใหม่ๆให้กับฝ่ายการตลาดไม่สร้างทักษะใหม่ๆให้กับฝ่ายการตลาด แนวทางแก้ไข สัญญาณเตือน PR การตลาดทุกวันนี้แข่งขันรุนแรง ท้าทาย องค์กรควรสรรหาทักษะใหม่ๆเพิ่มเติม อย่าเน้นแต่โฆษณา ประสบการณ์ IMC CRM A marketer guide to public relations เน้นทำกิจกรรม เพื่อสังคม Thefall of advertising and the rise of PR
ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีน้อยเกินไปใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีน้อยเกินไป สัญญาณเตือน แนวทางแก้ไข Technology Internet การใช้ประโยชน์จากwebยังน้อย webไม่มีประสิทธิภาพพอ ใช้งาน ไม่สะดวก ไม่ดึงดูด คล้ายคลึงกับ webอื่น ไม่สื่อบุคลิกองค์กร ใช้ประโยชน์จาก webให้เต็มที่ สร้าง web ที่เด่น ดึงดูด สะดวก สำรวจความคิดเห็นที่มีต่อ web มีผู้เชี่ยวชาญด้าน web คอยดูแล
วิเคราะห์สาระที่เกี่ยวข้องกับวิชา ที่นำไปใช้ประกอบการสอน เนื้อหาสาระของหนังสือเล่มนี้ หากมองในภาพรวมจะเป็นการกล่าวถึงความสำคัญของการตลาดที่มีผลต่อความล้มเหลว หรือความสำเร็จขององค์กร และเมื่อได้อ่านในรายละเอียดจะพบว่า แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการตลาด ที่ผู้เขียนได้เสนอแนะไว้จะใช้หลักของ การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการวิจัยอย่างเป็นระบบ แบบแผน เข้ามาแก้ไขปัญหา และจุดอ่อนทางการตลาดที่เกิดขึ้น เนื้อหาความรู้ที่ได้รับจากหนังสือเล่มนี้ จึงสามารถนำไปใช้ประกอบการสอนในวิชาของคณะนิเทศศาตร์ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังช่วยเพิ่มวิสัยทัศน์และมุมมองในเรื่องของการตลาดให้กว้างไกล มากยิ่งขึ้นอีกประการหนึ่งด้วย
ประโยชน์และข้อเสนอแนะประโยชน์และข้อเสนอแนะ หนังสือเล่มนี้เขียนโดยฟิลิป คอตเลอร์ ซึ่งเป็นศาตราจารย์ ด้านการตลาดนานาชาติ และเป็นผู้เขียนหนังสือด้านการตลาดกว่า 30 เล่ม จึงเป็นข้อยืนยันได้ว่าผู้เขียนเป็นผู้มีความรอบรู้ด้านการตลาด สามารถถ่ายทอดเรื่องราวและประสบการณ์ด้านการตลาดได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบันการดำเนินงานขององค์กรต่างๆ จะต้องเผชิญกับสภาวการณ์แข่งขันที่สูงขึ้น เพื่อช่วงชิงความได้เปรียบทางการตลาด กลยุทธ์ด้านการตลาดจึงเป็นเรื่องที่ผู้บริหารขององค์กรต่างก็หันมาให้ความสำคัญ มุ่งใช้การตลาดเป็นตัวผลักดันธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จ แต่ก็อดที่จะตั้งคำถามไม่ได้ว่า แล้วเพราะเหตุใดการตลาดจึงไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร?
หนังสือเล่มนี้มีคำตอบเพราะได้รวบรวมข้อบกพร่อง จุดอ่อน สัญญาณอันตรายทางด้านการตลาดที่มักจะถูกมองข้าม พร้อมทั้ง ได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และได้ผลจริง ช่วยพลิกฟื้นสถานการณ์ด้านการตลาดขององค์กร ให้กลับเป็นฝ่ายได้เปรียบคู่แข่ง และก้าวไปสู่องค์กรที่ทรงพลังทางการตลาดตามที่มุ่งหวัง ข้อเสนอแนะ ประโยชน์ต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อได้ลงมืออ่านหนังสือเล่มนี้อย่างจริงจัง และนำวิธีการที่ได้เสนอแนะไว้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพทางการตลาดขององค์กรต่อไป