1 / 16

แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ

แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ. 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y. Y = f(x). x เป็นตัวแปรอิสระ (Independent variable) y เป็นตัวแปรตาม (Dependent variable).

borna
Download Presentation

แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แคลคูลัส (Calculus) :ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y Y = f(x) x เป็นตัวแปรอิสระ (Independent variable) y เป็นตัวแปรตาม (Dependent variable)

  2. 2. ลิมิตของฟังก์ชัน (limit of function) พิจารณา f(x) = (2x + 3)(x-1) หาค่าไม่ได้ที่ x = 1 (x-1) lim f(x) x<1 x>1 x 0 x1- 1

  3. lim f(x) x<1 x>1 0 x x1+ 1 x1 , fx) จะมีค่าเข้าใกล้ 5 เขียนแทนด้วย lim (2x + 3)(x-1) = 5 (x-1) x1

  4. 3. ฟังก์ชันต่อเนื่อง ฟังก์ชัน f(x) จะเป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่ a ก็ต่อเมื่อ เงื่อนไขเป็นจริงทั้ง 3 ประการ 1. f(a) มีค่า 2. lim f(x) หาค่าได้ 3. lim f(x) = f(a) xa xa y (x2-4)/(x-2), x ≠ 2 2 , x = 2 EX1 f(x) = 1. f(2) = 2 2. lim f(x) = 4 3. lim f(x) ≠ f(a) x 2 x2 ดังนั้นf(x) ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง x2

  5. x , 0 ≤ x ≤ 10 10 + 0.9(x-10) = 0.9x + 1 , 10 < x EX2 f(x) = 1. f(10) = 10 2. lim f(x) = 10 lim (0.9x+1) = 10 x10+ x10- lim f(x) = 10 x10 3.f(10) = lim f(x) = 10  f(x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ 10 x10

  6. 4. ทฤษฎีบทสำคัญที่เกี่ยวกับลิมิต กำหนดให้ u(x), v(x) เป็นฟังก์ชันของตัวแปร x และให้ lim u(x) = A , lim v(x) = Bและให้c เป็นค่าคงตัว ไม่ขึ้นกับ x สามารถพิสูจน์ได้ว่า xa xa 1. lim (u+c) = A+c 2. lim cu = cA 3. lim c/u = c/A 4. lim (u+v) = A+B 5. lim (uv) = AB 6. lim (u/v) = A/B xa xa xa xa xa xa คำถาม 1. lim (1/a) = ? , 2. lim (c/a) = ? , 3. lim ca = ? a0 a a

  7. ถ้า y เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง ที่ขึ้นกับตัวแปร x เพียงตัวแปรเดียว Y = f(x) พิจารณา ค่า y เมื่อ x = x0 , ค่า y ที่ตำแหน่ง x0 = y0 หรือ y0 = f(x0) เมื่อ x = x0 + x , ค่า y ที่ตำแหน่ง x0+ x = y0 + y หรือ y = y0 + y = f(x0) + y = f(x0+x) จัดเทอมใหม่ จะได้ y = f(x0 + x) – f(x0) ............ (1.1)

  8. EX3 y = x2, y = ? กำหนดให้ x0 = 1 , x = 0.1 จากสมการ (1.1) y = f(x0+x) – f(x0) เมื่อ y = x2, y = (x0+x)2 – (x0)2 = 2x0x + (x)2 y = (2x1x0.1) + (0.1)2 = 0.21 y/x = 0.21/0.1 = 2.1 ถ้า x0 = 1, x = 0.01 y = (2x1x0.01) + (0.01)2 = 0.0201 y/x = 0.0201/0.01 = 2.01 ถ้า x0 = 1, x = 0.001 จะได้ y = 0.002001 y/x = 0.002001/0.001 = 2.001 x มีค่าน้อยมากๆ จนเกือบเป็นศูนย์ ค่า y/x จะยิ่งเข้าใกล้ 2 เขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า lim y = 2 x0 x

  9. 5. นิยามอนุพันธ์ของฟังก์ชัน _ _ d y lim f(x0+x) – f(x0) หรือ y/ _ อนุพันธ์ของฟังก์ชัน y เทียบกับ x = dx x d y อ่านว่า ดีบายดีเอ็กซ์ของวาย dx dy อ่านว่า ดีวายบายดีเอ็กซ์ หรืออนุพันธ์ของ y เทียบกับ x dx

  10. 6. ความหมายเชิงเรขาคณิตของอนุพันธ์ เมื่อแทนค่าในสมการ y = f(x)และเขียนกราฟ y เส้นกราฟของ y = f(x) ^ Q y = QR = tan (QPR) y x PR y d y = lim y P dx x0 x y0 R = lim f(x0+x) – f(x0) x0 x x x ^ x0 x = tan (QPR)

  11. ดังนั้นy คือ ความชันของกราฟระหว่างสองจุด x x 0 , ความชันของจุดสองจุดเปรียบเสมือนกับเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (x0,y0) 7. ผลที่ติดตามมาของการอนุพันธ์ นิยาม และทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับ ลิมิตช่วยให้เราได้ผลที่สำคัญดังต่อไปนี้ กำหนดให้ c เป็นค่าคงตัว f(x) กับ g(x) เป็นฟังก์ชั่นของ x, และ x เป็นฟังก์ชั่นของตัวแปรตัวใหม่ นั้นคือ x  x() จะได้

  12. ตัวอย่างการพิสูจน์

  13. 8. ตัวอย่างสูตรมาตรฐานของการหาอนุพันธ์

  14. EX4 y = 4x3 + 3x2 + 2x + 5 , dy = ? dx dy = d [4x3 + 3x2 + 2x + 5] dx dx = d(4x3) + d(3x2) + d(2x) + d(5) dx dx dx dx = (3X4)x3-1+(2X3)x2-1+(1X2)x1-1+ 0 = 12x2 + 6x + 2 Ans กำหนดให้ u = x2+1 EX5 y = (x2+1)2, dy/dx = ? dy = du2 = du2. du dx dx du dx = 2u. d(x2+1) = 2(x2+1). 2x = 4x(x2+1) Ans dx

  15. EX6 y = x2. cos2x , dy/dx = ? dy = d [x2.cos2x] = cos2x . d[x2] + x2. d [cos2x] dx dx dx dx = cos2x.(2x) + x2.(-sin2x).d(2x) dx = 2x.cos2x – 2x2.sin2xANS EX7 y = 23x , dy/dx = ? ใช้เทคนิคการเปลี่ยนตัวแปร กำหนดให้ u = 3x d y = d (23x) = d(2u).du = 2u ln2.d 3x = 23x ln2 . 3 = 3 ln2 (23x) ANS dx dx du dx dx

More Related