240 likes | 449 Views
ระบบการค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยและสปป.ลาว กรณีศึกษา อุบลราชธานี-จำปาสัก. นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. Source: http :// www . thaisavannakhet . com /. บริบทด้านการเกษตรของแขวงจำปาสัก. พื้นที่กสิกรรม คิดเป็นร้อยละ 37 ของพื้นที่แขวง
E N D
ระบบการค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยและสปป.ลาว กรณีศึกษา อุบลราชธานี-จำปาสัก นรินทร บุญพราหมณ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
บริบทด้านการเกษตรของแขวงจำปาสักบริบทด้านการเกษตรของแขวงจำปาสัก พื้นที่กสิกรรม คิดเป็นร้อยละ 37 ของพื้นที่แขวง สินค้าหลัก ได้แก่ ข้าว ไม้แปรรูป กาแฟ พืช ผักและผลไม้ โค กระบือ พื้นที่ป่า 931,349 เฮกตาร์ คิดเป็น 58% ของพื้นที่แขวง ทรัพยากรแหล่งน้ำ : เซโดน ห้วยบังเลียง ห้วยโตะโหมะ เซลำเพา ห้วยตวย เซคำพอ ฯลฯ
บริบทด้านการเกษตรของแขวงจำปาสักบริบทด้านการเกษตรของแขวงจำปาสัก ลักษณะทางภูมิศาสตร์ - พื้นที่ราบ(มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 80-120 เมตร) คิดเป็น 74 % ของพื้นที่แขวง มีฝน 2,279 มล. ต่อปี อากาศร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 27 ํC - พื้นที่สูง(มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 400-1,284 เมตร) คิดเป็น 26 % ของพื้นที่แขวง มีฝน 3,500 มล. ต่อปี มีความชื้น 80 % อุณหภูมิเฉลี่ย 21 ํC
เขตส่งเสริมการเกษตรของแขวงจำปาสักเขตส่งเสริมการเกษตรของแขวงจำปาสัก เขตส่งเสริมการปลูกข้าวและพืชอุตสาหกรรมมีพื้นที่ทั้งหมด 175,000 เฮกตาร์ ซึ่งใช้ไปแล้ว 87,663 เฮกตาร์ (พื้นที่เหลือให้ลงทุน 87,337 เฮกตาร์) เขตส่งเสริมการปลูกไม้ผล มีพื้นที่ทั้งหมด 41,225 เฮกตาร์ ใช้ไปแล้ว 10,225 เฮกตาร์ เขตส่งเสริมการปลูกกาแฟและไม้เศรษฐกิจมีพื้นที่ทั้งหมด 142,773 เฮกตาร์ (มีพื้นที่เหลือ 113, 631 เฮกตาร์)
เขตส่งเสริมการเกษตรของแขวงจำปาสักเขตส่งเสริมการเกษตรของแขวงจำปาสัก เขตส่งเสริมการปลูกไม้กฤษณาและยางพารา - พื้นที่ปลูกไม้กฤษณา 3,800 เฮกตาร์ - พื้นที่ปลูกยางพารา 14,500 เฮกตาร์ (เวียดนามร่วมลงทุนกับรัฐบาลลาวในมีพื้นที่ได้รับสัมปทาน 13,000 เฮกตาร์) เขตส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์มีพื้นที่ทั้งหมด 33,800 เฮกตาร์ ใน 6 จุด
กรอบความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนกรอบความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน WTO ASEAN-DPs AFTA ACMECS กรอบอื่นๆ AISP
อัตราอากรศุลกากร 1. อัตราอากรตามพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากรพ.ศ.2530 2. อัตราอากรปกติ ซึ่งใช้เป็นการทั่วไปกับทุกประเทศ 3. อัตราอากรผูกพันสำหรับสมาชิก WTO และอัตราอากรขาเข้าภายใต้กรอบการปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) 4. อัตราอากรสำหรับสิทธิพิเศษ อัตราอากรขาเข้าเพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันในการให้สิทธิประโยชน์ด้านอากรตามความตกลงพิเศษต่างๆ เช่น CEPT (AFTA), AISP, GSTP, TAFTA, TNZCEP, ASEAN-China
เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิก บรูไนอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม (ใหม่) วัตถุประสงค์ เพื่อขยายการค้าภายในภูมิภาค ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อประสิทธิภาพการผลิตของประเทศสมาชิก และเพิ่มอำนาจต่อรองของอาเซียนในเวทีโลก
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า - AFTA เป้าหมาย เพื่อลดอัตราอากรศุลกากร (Tariff) ระหว่างกันเป็น 0% ครอบคลุมทุกรายการสินค้า สมาชิกเดิม ในปี 2553 สมาชิกใหม่ ในปี 2558 - สมาชิกเดิม มีสินค้าที่มีอัตราภาษี 0-5% คิดเป็น 99.7% ของจำนวนรายการสินค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List) - สมาชิกใหม่ มีสินค้าที่มีอัตราภาษี 0-5% คิดเป็น 76.85% ของจำนวนรายการสินค้าในบัญชีลดภาษี (Inclusion List) สถานะปัจจุบัน
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า - AFTA แผนการลดภาษีของไทย ปัจจุบันสินค้าทุกรายการมีอัตราภาษีสินค้า 0-5% (ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว 13 รายการ) ลดภาษีสินค้าในบัญชีลดภาษี จาก 80% ลงเหลือ 0% ในปี พ.ศ. 2550 ลดภาษีสินค้าทุกรายการลงเหลือ 0% ในปี พ.ศ. 2553
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า - AFTA การขอใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน • สินค้าต้องมีสัดส่วนการใช้วัตถุดิบในอาเซียนมากกว่า 40 % • มีใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Form D): กรมการค้าต่างประเทศ • ระเบียบวิธีปฏิบัติทางศุลกากรในการผ่านพิธีการ : กรมศุลกากร
การเปิดเสรีด้านการค้าสินค้า - AFTA ประโยชน์ที่จะได้รับ นำเข้าวัตถุดิบจากประเทศสมาชิกอาเซียนได้ในราคาถูก ส่งสินค้าไปขายยังประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นได้ในอัตราภาษีต่ำ
ASEAN Integration System of Preferences(AISP) มาตรการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า ภายใต้กรอบความร่วมมือเพื่อการรวมตัวของอาเซียน เป็นการให้ลักษณะทวิภาคี เป็นการให้ฝ่ายเดียวโดยไม่มีการเจรจาต่อรอง
ASEAN Integration System of Preferences(AISP) เพื่อเป็นการช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้การค้าและการลงทุนภายในภูมิภาคขยายตัวมากขึ้น และลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจกับสมาชิกใหม่อาเซียน ประเทศผู้ได้สิทธิ AISP จะต้องแจ้งรายการสินค้าที่ต้องการจะได้รับสิทธิ AISP แก่ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ โดยพิจารณาให้เป็นรายสินค้าปีต่อปี อัตราภาษีที่จัดเก็บอยู่ระหว่าง 0–5 %
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของ AISP (Rules of Origin) สินค้าเกษตร สินค้าเกษตร หมายถึง สินค้าในพิกัดตอนที่ 01-24 และรวมถึงสินค้าเกษตรตามข้อผูกพันในองค์การการค้าโลก (WTO) ใช้กฎ Wholly Produced or Obtained (Single Country) : สินค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบในประเทศนั้นทั้งหมดโดยไม่มีการนำเข้า หรือ สินค้าต้องมีมูลค่าวัตถุดิบของประเทศผู้ส่งออกประเทศเดียว หรือ รวมกับวัตถุดิบจากไทย ไม่น้อยกว่า 60%
การระงับสิทธิ์ AISP สามารถระงับการให้สิทธิ AISP ได้ในกรณีที่ : มูลค่าการนำเข้าของสินค้าที่ได้รับสิทธิ AISP เพิ่มขึ้น 100% มีผู้ผลิตภายในประเทศร้องเรียนต่อกระทรวงการคลังว่า การนำเข้าสินค้าที่ได้รับสิทธิพิเศษ AISP มีผลกระทบเชิงลบต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ โดยมีข้อมูลที่ชัดเจนและเชื่อถือได้สนับสนุน
ACMECS ACMECS: Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy ~ กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาคที่จัดตั้ง ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากความแข็งแกร่งและความหลากหลายของประเทศสมาชิกเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างสมดุล โดยมีประเทศสมาชิก คือ ไทย กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม
ประกาศอื่นๆ การลดอากรศุลกากรสำหรับของที่มีถิ่นกำเนิดจากลาว ตามมาตรา 14 (ประกาศตั้งแต่ปี 2549) - ข้าวโพด พรรณไม้เพื่อเภสัชกรรม ให้เก็บอากรที่ไม่เกิน 5% - สินค้าต่างๆ เช่น ขนหมู ขนเป็ด ขนม้า มะเขือเทศ กระเทียม กาแฟ กระวาน ฝ้าย งา กำยาน นุ่น ไม้ปาเก้ต์ ประตู ป่าน ปอกระเจา เฟอร์นิเจอร์ไม้ เป็นต้น
ขั้นตอนการลงทุนใน สปป.ลาว แหล่งข้อมูล: สุทธิพร จีระพันธุ. 2551. การลงทุน Contract Farming ในประเทศเพื่อนบ้าน. http://www.fpo.go.th/pdf/forum/3presentation2-2.ppt