100 likes | 356 Views
ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข ( PHER). กรมควบคุมโรค ปี 2554 - 2558. กลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่ : องค์การอนามัยโลก. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ ( new infectious diseases ) 2. โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ ( new geographical areas ) เช่น ซาร์ส
E N D
ยุทธศาสตร์การเตรียมพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (PHER) กรมควบคุมโรค ปี 2554 - 2558
กลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่: องค์การอนามัยโลก • โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) • 2. โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) เช่น ซาร์ส • 3. โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) เช่น กาฬโรค • 4. เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organism) • 5. อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) • ใช้เชื้อโรคหลายชนิดผลิตเป็นอาวุธ เช่น เชื้อแอนแทรกซ์ ไข้ทรพิษ
Why EIDs? Studies show over the last 50 years: One new disease every year >70% are zoonotic, % increasing Many are of transboundary in nature Wide and significant impacts (SARS/HPAI) Global significance, international public good
Timeline of EIDs / threats for Thailand โรคอุบัติใหม่วันนี้ คือโรคประจำถิ่นในวันหน้า ...ถ้าควบคุมไม่ได้
โรคติดต่ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำโรคติดต่ออุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ • โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1)2009 • โรคไข้หวัดนก • โรคมือเท้าปาก • โรคไข้เลือดออกอีโบลา • โรคไข้กาฬหลังแอ่น • โรคไข้เหลือง • โรคชิคุนกุนยา • ซาร์ส • โรคแอนแทรกซ์ • โรคลีเจียนแนร์ • โรคไข้ริฟต์ วาลเลย์ • โรคโบทูลิซึม • โรคติดเชื้อ อีโคไล • ชนิดรุนแรง (E.coli O104)
ผลการประเมินความเสี่ยงโรค EIDs ในประเทศไทย ปี 2553 8 โรคที่ต้องให้ความสำคัญในพื้นที่ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ (H1N1) 2009 โรคติดเชื้อไวรัสเอนเทอโร/โรคมือเท้าปาก ไข้หวัดนก ชิคุนกุนยา ไข้กาฬหลังแอ่น ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล โรคติดเชื้อจากสเตรฟโตคอกคัส ซูอิส และ โบทูลิซึม เหล่านี้มีแนวโน้มการระบาดอยู่ในพื้นที่อย่างต่อเนื่องหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดขึ้น
การพัฒนาองค์กร (พื้นฐาน) • ข้อมูลข่าวกรองและข้อมูลทางวิชาการที่ได้มาตรฐานตามที่กำหนดในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข • ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูงในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข • องค์กร/ทีมงานมีคุณลักษณะที่พร้อมต่อการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ให้มีการพัฒนาระบบสั่งการ ศูนย์สั่งการ และ แนวทางปฏิบัติ (SOP)
กลุ่มวิชาการและการเตรียมความพร้อมฉุกเฉินกลุ่มวิชาการและการเตรียมความพร้อมฉุกเฉิน 1. ด้านวิชาการ (จัดทำคำแนะนำ, ข้อเสนอแนะด้านวิชาการ, มาตรการป้องกันควบคุมโรคฯลฯ) 2. ด้านปฏิบัติการ (จัดการประชุม, ออกหนังสือสั่งการ, ปฏิบัติงานอื่นๆ ในงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) 3. ด้านส่งกำลังบำรุง (วางแผน / จัดซื้อ จัดหา / สนับสนุน เวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ) 4. ด้านสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (ผลิตข้อความประชาสัมพันธ์, การจัดนิทรรศการวิชาการ ฯลฯ) กลุ่มนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 5. ด้านบริหารจัดการ (จัดทำแผนงบประมาณที่เกี่ยวข้อง เช่น งบฉุกเฉิน งบกลาง ฯลฯ) กลุ่มบริหารทั่วไป 4. ด้านสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (เผยแพร่ข้อมูลลง web site ฯลฯ) 5. ด้านบริหารจัดการ (สนับสนุนการผลิตเอกสาร ค่าล่วงเวลา ยานพาหนะ งบประมาณ ฯลฯ) บทบาทหน้าที่ของแต่ละกลุ่ม
แนวทางการดำเนินงาน (SOP) • ภารกิจหลัก • BEID1: การวิเคราะห์ข่าวกรองและเตือนภัยความเสี่ยง • BEID2 : การเตรียมข้อมูลเพื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค / กระทรวงสาธารณสุข / ประเทศ • BEID3 : การจัดการสื่อสารสาธารณะ • BEID4 : การจัดหา / สนับสนุนเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ และบริหารสต๊อกคงคลัง • BEID5 : การพัฒนาทีมวิทยากร และ ผลิตสื่อวิทยากร • BEID6 : การให้ข้อมูลผู้บริหาร ตอบกระทู้ ตอบจดหมาย ตอบหนังสือ • BEID7: การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ร่วมกับทีม SRRT • ภารกิจสนับสนุน • BEID8 : การเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์ • การดูแลและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ • BEID9_1 : อุปกรณ์เครือข่าย • BEID9_2 : ระบบเว็บไซต์ • การจัดทำแผนปฏิบัติงาน /จัดระบบกำลังคนทดแทน / พัฒนาศักยภาพ • BEID10_1 : จัดทำแผนปฏิบัติงาน • BEID10_2 : จัดระบบกำลังคนทดแทน • BEID10_3 : บุคลากรและองค์กร • BEID11 : การจัดทำระบบการบริหารจัดการ