1 / 28

การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้

การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้ 1. หัวเชื่วมต่อแบบ ST ผลิตขึ้นโดยบริษัท AT&T สำหรับสายใยแก้วประเภท Multi Mode Step Index และ Graded Index Multi Mode. 1. 2. หัวเชื่วมต่อแบบ FC/PC นิยมใช้สำหรับสายใยแก้วประเภท Single Mode.

Download Presentation

การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้ 1. หัวเชื่วมต่อแบบ ST ผลิตขึ้นโดยบริษัท AT&T สำหรับสายใยแก้วประเภท Multi Mode Step Index และ Graded Index Multi Mode 1

  2. 2. หัวเชื่วมต่อแบบ FC/PC นิยมใช้สำหรับสายใยแก้วประเภท Single Mode 3. หัวเชื่วมต่อแบบ SC นิยมใช้ในปัจจุบัน 2

  3. 4. หัวเชื่วมต่อแบบ SMF มีขนาดเล็กและใช้งานง่าย 3

  4. ข้อดีของใยแก้วนำแสดงคือ 1. ขนาดเล็กและน้ำหนักเบา 2. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง ทำให้อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลสูง 3. มีความทนทานต่อคลื่นรบกวน 4. การเสียกำลังของสัญญาณมีน้อยกว่าสื่อชนิดอื่น 5. สามารถติดตั้งใช้งานในอุณหภูมิที่สูงหรือต่ำมาก ๆได้ ข้อเสีย 1. ราคาแพง 2. มีความเปราะบาง แตกหักง่าย 3. การติดตั้งต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ

  5. 2. สื่อกลางที่กำหนดเส้นทางไม่ได้ หรือระบบไร้สาย (Wireless System) • คลื่นไมโครเวฟ (Microwave • แสงอินฟราเรด (Infrared) • ระบบสื่อสารวิทยุ (Radio Link) • ระบบดาวเทียม (Satellite Link) • บลูทูธ (Bluetooth)

  6. 1. ระบบคลื่นไมโครเวฟ

  7. ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ - การรับ-ส่ง ใช้จานสะท้อนรูปพาลาโบลา - การส่งสัญญาณข้อมูลจะทำการส่งต่อ ๆ กัน จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง เป็นทอด ๆ การส่งสัญญาณระหว่างสถานีจะเดินทางเป็นเส้นตรง - สถานีหนึ่ง ๆ ครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณ 30-50 กิโลเมตร - ใช้ความถี่ 2-40 GHz ในการส่งสัญญาณ ความถี่อยู่ในช่วง 2.400-2.484 GHz ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ข้อดี 1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสาย 2. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง มีผลทำให้ความเร็วในการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย เช่น พายุ ฟ้าผ่า 2. ค่าติดตั้งจานและเสาส่งมีราคาแพง 3. ต้องขอใช้ความถี่จากองค์กรควบคุมการสื่อสาร

  8. 2. แสงอินฟราเรด (Infrared) ลักษณะของแสงอินฟราเรด - ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ ๆ เช่นในห้องเดียวกัน - นิยมใช้สื่อสารข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์เท่านั้น - อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลไม่สูง ประมาณ 4 Mbps ข้อดี 1. ราคาถูก สามารถสะท้อนกลับวัตถุได้ 2. ไม่ต้องขอใช้ความถี่จากองค์กรสื่อสาร ข้อเสีย 1. ไม่สามารถผ่านวัตถุทึบแสงได้ เดินทางในแนวเส้นตรง 2. ถูกรบกวนจากแสงอาทิตย์ได้ง่าย

  9. 3. คลื่นวิทยุ (Radio Link) ลักษณะของระบบสื่อสารวิทยุ - ระบบสื่อสารวิทยุ 1 ช่องสัญญาณ ใช้ได้กับหลาย สถานี - ใช้ความถี่ในช่วย 400-900 MHz ข้อดี 1. ใช้งานได้ไม่ต้องขอใช้คลื่นความถี่ 2. สามารถส่งสัญญาณกับสถานีเคลื่อนที่ได้ 3. มีค่าแบนด์วิดธ์สูง อัตราการส่งข้อมูลสูงด้วย ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ความปลอดภัยของข้อมูลต่ำ

  10. Up-link Down-link มีอุปกรณ์ระบบทวนสัญญาณ (Repeater) 4. ดาวเทียม (Satellite)

  11. ลักษณะของระบบดาวเทียม - คล้ายกับไมโครเวฟ - การส่งสัญญาณจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม เรียกว่า อัปลิงค์ (Uplink) - การส่งสัญญาณจากดาวเทียมมายังพื้นดิน เรียกว่า ดาวน์ลิงค์ (Downlink) - มีอุปกรณ์เรียกว่า Transponder ทำหน้าที่ รับ – ส่ง สัญญาณ และขยายสัญญาณ ระหว่างพื้นโลกและดาวเทียม

  12. ข้อดีของระบบดาวเทียม 1. สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะไกล อัตราความเร็วสูง 2. ไม่มีปัญหาสายขาด 3. ค่าใช้จ่ายในการาติดตั้งไม่ขึ้นกับระยะทาง ข้อเสีย 1. จะเกิดความล่าช้าของสัญญาณ เรียกว่า ความหน่วยในการแพร่สัญญาณ 2. อุปกรณ์ในการติดตั้งราคาแพง 3. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย เช่น พายุ ฟ้าผ่า 4. เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบแพร่กระจาย ความรักษาความปลอดภัยต่ำ

  13. 5. บลูทูธ (Bluetooth) ลักษณะของบลูทธ - เป็นเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นเมื่อประมาณปี ค.ศ. 1998 - ใช้ความถี่ในการส่งสัญญาณ 2.5 GHz - ปัจจุบันสื่อสารได้ในระยะทางไม่เกิน 10 เมตร - สามารถสื่อสารผ่านวัตถุทึบแสงได้ - สามารถสื่อสารระหว่างอุปกรณ์หลายอุปกรณ์ได้ ข้อดี 1. เป็นระบบที่มีมาตรฐานสามารถนำไปใช้งานได้ทั่วโลก 2. ใช้งานได้ทั้งข้อมูล เสียง และมัลติมีเดีย ข้อเสีย 1. เนื่องจากเป็นระบบที่สามารถสื่อสารกับอุปกรณ์ได้หลาย อุปกรณ์จึงมีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล

  14. หลักการพิจารณาเลือกใช้สื่อกลางหลักการพิจารณาเลือกใช้สื่อกลาง 1. ต้นทุน (Cost) 2. ความเร็ว (Speed) 3. ระยะทาง (Distance) 4. สภาพแวดล้อม (Environment) 5. ความปลอดภัยของข้อมูล (Security)

  15. 2 สื่อกลางในการส่งข้อมูล

  16. ประเภทของระบบเครือข่ายประเภทของระบบเครือข่าย

  17. 1. ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (LAN-Local Area Network)

  18. 2. ระบบเครือข่ายระหว่างเมือง (MAN- Metropolitan Area Network)

  19. 3. ระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN-Wide Area Network)

  20. 4. อินเทอร์เน็ต

  21. รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่ายรูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย

  22. 3. การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน

  23. 4.เครือข่ายแบบผสม

  24. องค์ประกอบของระบบเครือข่ายองค์ประกอบของระบบเครือข่าย 1. อุปกรณ์ฮารด์แวร์ 2. ซอฟต์แวร์ 3. ตัวกลางนำข้อมูล

  25. 1. อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ 1.1. NIC (Network Interface Card)

  26. 1.2 HUB

  27. 1.3 Bridge

  28. 1.4 Router

More Related