1 / 64

สำรองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคต

สำรองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคต. ฝ่ายกำกับธุรกิจแนะนำการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 15 ธันวาคม 2548. ท่านเตรียมคำตอบ สำหรับคำถามเหล่านี้บ้างไหม. อีก 30 ปีข้างหน้าท่านอยากมีชีวิตแบบไหน อยากเห็นอนาคตลูกหลานท่านเป็นอย่างไร ตอนนี้ท่านมีเงินออมอยู่เท่าไร. หัวข้อวันนี้. ทำไมต้องออมเพื่อเกษียณ

Download Presentation

สำรองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำรองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคตสำรองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคต ฝ่ายกำกับธุรกิจแนะนำการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 15ธันวาคม 2548

  2. ท่านเตรียมคำตอบสำหรับคำถามเหล่านี้บ้างไหมท่านเตรียมคำตอบสำหรับคำถามเหล่านี้บ้างไหม • อีก 30 ปีข้างหน้าท่านอยากมีชีวิตแบบไหน • อยากเห็นอนาคตลูกหลานท่านเป็นอย่างไร • ตอนนี้ท่านมีเงินออมอยู่เท่าไร

  3. หัวข้อวันนี้ • ทำไมต้องออมเพื่อเกษียณ • การออมเพื่อเกษียณกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีดีตรงไหน • กองทุนบำเหน็จบำนาญแห่งชาติ

  4. ทำไมต้องออมเพื่อเกษียณทำไมต้องออมเพื่อเกษียณ

  5. ความจริงที่ต้องยอมรับความจริงที่ต้องยอมรับ • ช่วงเวลาในการเริ่มหารายได้น้อยลง • เกษียณเร็วขึ้น • จำนวนคนโสดมีมากขึ้น • อายุยืนมากขึ้น

  6. ชีวิตหลังเกษียณ ชาย 25 ปี หญิง 29 ปี

  7. ผู้สูงอายุครองเมือง !!!ในอีก 20 ปี ข้างหน้า ภาระของคนหนุ่มสาวที่จะ ดูแลคนสูงอายุมีมากขึ้น!! เราก็จะเป็นหนึ่งในนั้น

  8. โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลง ที่มา ประมาณการประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2527-2562 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  9. 60 ปีขึ้นไป 9% 60 ปีขึ้นไป 18% วัยทำงาน 20-59 ปี วัยทำงาน 20-59 ปี ต่ำกว่า 20 ปี ต่ำกว่า 20 ปี 24% 58% 35% 56% พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2542 สัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

  10. อีก 30 ปีข้างหน้า อยากมีชีวิตแบบไหน ?

  11. ท่องเที่ยว พึ่งลูกหลาน ทางเลือกที่กำหนดได้

  12. ทำอย่างไรถ้าอยากคงคุณภาพชีวิตทำอย่างไรถ้าอยากคงคุณภาพชีวิต รายได้หลังเกษียณ = 50-80% ของรายได้ก่อนเกษียณ

  13. ทำไม 50-80% พอ ทำไมไม่ใช่ 100% (1) ผ่อนบ้านหมดแล้ว (2) ค่าใช้จ่ายทางสังคมลดลง (3) อัตราภาษีลดลง

  14. 10,000 บาท 1.5 ล้าน 1.7 ล้าน ใช้ 50% 50,000 บาท 7.5 ล้าน 8.7 ล้าน ใช้ 50% ใครว่าเกษียณแล้วไม่ต้องใช้เงิน ชาย อยู่อีก 25 ปี หญิง อยู่อีก 29 ปี เงินเดือน

  15. ปัจจัยที่ต้องคำนึงในเรื่องการออมปัจจัยที่ต้องคำนึงในเรื่องการออม (1) ระยะเวลาการออม (2) อัตราผลตอบแทน

  16. ในแง่ระยะเวลา

  17. ความอัศจรรย์ของดอกเบี้ยทบต้นความอัศจรรย์ของดอกเบี้ยทบต้น 15 ปีผ่านไป 50 ปีผ่านไป ออมเงินก้อนเดียว 10,000 บาท ผลตอบแทน 10% เงินเพิ่มขึ้น 4 เท่า (41,000 บาท) เวลาที่เพิ่ม 35 ปี ทำให้เงินต้นเพิ่มอีก 113 เท่า ! เงินเพิ่มขึ้น 117 เท่า (1,173,000 บาท)

  18. สายสมร สมศรี เริ่มออม อายุ 20 ปี ปีละ 2,000.- (วันละ 5.50 บาท) 10 ปี อายุ 30 ปี ยังไม่มีเงินเก็บ อายุ 30 ปี มีเงิน 35,000.- หยุดออม เริ่มออม ปีละ2,000.- ตลอด 30 ปี 30 ปี อายุ 60 ปี ใครจะรวยกว่ากัน?

  19. สมศรี สายสมร 360,000.- 610,000.-

  20. ออมก่อน รวยกว่า

  21. ในแง่ผลตอบแทน

  22. คุณห่วงต้นอายุ 20 ปี เก็บเงินทุกปี ปีละ 2,000 บาท 45 ปี ผลตอบแทนปีละ 6% เมื่ออายุ 65 ปี มีเงินเก็บ 450,000 บาท

  23. คุณแผน อายุ 20 ปี เก็บเงินทุกปี ปีละ 2,000 บาทผลตอบแทนปีละ 14% เมื่ออายุ 65 ปีมีเงินเก็บ 5,900,000 บาท!

  24. ควรคาดหวังผลตอบแทน เท่าไหร่ ?

  25. Rule of 72 72 = จำนวนปีที่รอ เงินต้นเพิ่ม 2 เท่า อัตราผลตอบแทน

  26. ข้อคิด อย่าห่วงเพียงรักษาเงินต้น ผลตอบแทนต้องสูงพอด้วย

  27. แล้วจะออมอย่างไร? • เอาเงินฝังตุ่ม? ปลวกกิน • ฝากธนาคาร? ดอกเบี้ยร้อยละ 0.5-1% •  เล่นหุ้น? ไม่มีความรู้ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ช่วยท่านได้

  28. ขั้นตอนของการออมเงินเพื่อวัยเกษียณขั้นตอนของการออมเงินเพื่อวัยเกษียณ 1.ตั้งเป้าหมาย 2.วางแผน 3.ลงมือ

  29. 1. ตั้งเป้าหมาย ประเมินเงินก้อนที่ต้องมีเพื่อไว้ใช้จ่าย ตลอดระยะเวลาหลังเกษียณ (1) ประเมินช่วงอายุหลังเกษียณ (life expectancy) สมมุติเกษียณเมื่ออายุ 60 ปี ผู้หญิง 29 ปี ผู้ชาย 25 ปี

  30. 1. ตั้งเป้าหมาย (ต่อ) (2) ประเมินเงินที่จะพอใช้จ่ายต่อเดือน ผู้ชาย 60+25 = 85ปี ผู้หญิง 60+29 = 89ปี

  31. 1. ตั้งเป้าหมาย (ต่อ) 10,000 บ.3 3.5 30,000 บ.9 10.4 25 ปี 29 ปี ค่าใช้จ่าย/เดือน Inflation Adjusted (4%) 7.9 10.9 Inflation Adjusted (4%) 23.9 32.4 หน่วย : ล้านบาท

  32. 2. วางแผน ลองสำรวจเงินในกระเป๋าของท่าน ?? • ฝากเงินกับธนาคาร • ซื้อพันธบัตร ประกันชีวิต • ลงทุนในหลักทรัพย์ ทำอย่างไรจึงจะมีเงินใช้เพียงพอหลังเกษียณ

  33. 3. ลงมือ • เริ่มออมเงินทันที • ออมให้เหมาะสมกับตนเอง (ความเสี่ยงที่รับได้) • Tips • ยิ่งเริ่มออมเร็ว...ยิ่งรวย • ยิ่งออมมาก...ยิ่งดี • ยิ่งออมแบบได้ผลตอบแทนสูง...ยิ่งได้ประโยชน์

  34. 3. ลงมือ (ต่อ) ทางเลือกสำหรับการออมเพื่อวัยเกษียณ ประกันชีวิต 2. กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) 3.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD)

  35. BREAK

  36. การออมเพื่อเกษียณ กับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

  37. ระบบการออมเพื่อเกษียณอายุในประเทศไทยระบบการออมเพื่อเกษียณอายุในประเทศไทย Pillar 3 (Net ที่ 3) โครงการออมเพื่อการ ชราภาพแบบสมัครใจ Pillar 2 (Net ที่ 2) โครงการบำเหน็จบำนาญแบบบังคับ ซึ่งกำหนดอัตราเงินสมทบแน่นอน (Defined Contribution) Pillar 1 (Net ที่ 1) โครงการบำเหน็จบำนาญแบบบังคับ บริหาร โดยภาครัฐ ซึ่งกำหนดผลประโยชน์ทดแทนไว้แน่นอน (Defined Benefit) รองรับคนงานหลัง เกษียณที่ตกหลุมสังคม จากการมีรายได้ไม่ เพียงพอในการ ดำรงชีวิต • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กบข. • กองทุนประกันสังคม กรณีชราภาพ • ระบบบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการเดิม

  38. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไรกองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไร กองทุนที่ลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้น ด้วยความสมัครใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ • ส่งเสริมการออมระยะยาวของลูกจ้าง • มีเงินออมเมื่อเกษียณอายุหรือลาออกจากงาน • เป็นหลักประกันของครอบครัวกรณีลูกจ้างเสียชีวิต

  39. โครงสร้างระบบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นายจ้าง ลูกจ้าง แต่งตั้ง เลือกตั้ง คณะกรรมการกองทุน คัดเลือก/แต่งตั้ง ให้ใบอนุญาต/กำกับดูแล บริษัทจัดการ รับจดทะเบียน จัดการเงินลงทุน สำนักงาน ก.ล.ต. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เก็บรักษาทรัพย์สิน ให้ความเห็นชอบ/กำกับดูแล ผู้รับฝากทรัพย์สิน

  40. รู้จัก ก.ล.ต. หน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

  41. ก.ล.ต. : ตลาดหลักทรัพย์ : ธปท. ตลาดการเงิน ตลาดเงิน(ธปท.) ตลาดทุน (ก.ล.ต.) ตลาดแรก ตลาดรอง ธุรกิจหลักทรัพย์ SRO - SET - BDC -ผู้ออก หลักทรัพย์ -Broker - Underwriter etc. - สมาคมต่าง ๆ

  42. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีดีตรงไหน • สามารถเลือกจ่ายเงินเข้ากองทุนได้ • สมาชิกสามารถเลือกลงทุนได้ • มีความมั่นคงปลอดภัย • บริหารโดยนักบริหารมืออาชีพ • สิทธิประโยชน์ทางภาษี • สร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่นายจ้าง

  43. สามารถเลือกจ่ายเงินเข้ากองทุนได้สามารถเลือกจ่ายเงินเข้ากองทุนได้ สมาชิก เงินสะสม 2% - 15% ของค่าจ้าง นายจ้าง เงินสมทบ มากกว่า หรือ เท่ากับอัตราเงินสะสมของ ลูกจ้างแต่ไม่เกิน 15%

  44. อัตราเงินสะสม - เงินสมทบ

  45. สมาชิกสามารถเลือกลงทุนได้สมาชิกสามารถเลือกลงทุนได้ (Employee’s choice)

  46. ควรเลือกลงทุนอย่างไร

  47. วัยหนุ่มสาว วัยกลางคน วัยเกษียณ คำตอบ : ขึ้นอยู่กับอายุ กล้าได้กล้าเสีย ไม่เสี่ยงมาก ระมัดระวัง

  48. ความมั่นคงปลอดภัย • ความมั่นคงปลอดภัยของทรัพย์สิน • ความมั่นคงปลอดภัยทางการเงิน

  49. ความมั่นคงปลอดภัยของทรัพย์สินความมั่นคงปลอดภัยของทรัพย์สิน ปลอดภัยสูง เพราะทรัพย์สินของกองทุนแยกต่างหากจาก ทรัพย์สินของนายจ้าง จึงไม่ได้รับผลกระทบ หากนายจ้างต้องปิดกิจการ

  50. ความมั่นคงปลอดภัยทางการเงินความมั่นคงปลอดภัยทางการเงิน เป็นเงินออม สำรองไว้เพื่อใช้ในอนาคต

More Related