540 likes | 927 Views
รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง. 15 กันยายน 2551 Lehman Brothers วาณิชธนกิจ อันดับ 4 ของอเมริกา ล้มละลาย. Lehman Brothers อายุ 150 ปีเศษ สินทรัพย์สิ้นปี 2550 เท่ากับ 691 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 23.5 ล้าน ๆ บาท. Spillover Effect ลุกลามสู่ยุโรป
E N D
รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง
15 กันยายน 2551 Lehman Brothers วาณิชธนกิจ อันดับ 4 ของอเมริกา ล้มละลาย
Lehman Brothers อายุ 150 ปีเศษ สินทรัพย์สิ้นปี 2550 เท่ากับ 691 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 23.5 ล้าน ๆ บาท
Spillover Effect ลุกลามสู่ยุโรป เอเชีย ไทย และอื่น ๆ
ผลกระทบต่อประเทศไทย • ไตรมาส 4/51 GDP ลบ 4.2% • ไตรมาส 1/52 GDP ลบ 7.1% • ไตรมาส 2/52 GDP ลบ 4.9% • ไตรมาส 3/52 GDP ลบ 2.7% • ไตรมาส 4/52 GDP บวก 5.8%
กระทบไทยอย่างรุนแรงต่อการส่งออกเพราะโครงสร้างเศรษฐกิจไทยเป็น Open Economy
Expenditure on Gross Domestic Product Current Market Price Millions of Baht ที่มา: ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คำนวณร้อยละและปรับปรุงรูปแบบตารางโดยผู้เขียน
1. Private Consumption Expenditure 55% 2. Gross Private Investment Expenditure 22% 3. General Government Expenditure 19% 4. Export of Goods and Service 76% 5. Import of Goods and Service -74% 6. Statistical Discrepancy 2% Expenditure on Gross Domestic Product Current Market Price 2% 55% -74% 22% 19% 76% Gross Domestic Product 9,104,959 (100 %)
ผลกระทบต่อไทยผ่านการส่งออกผลกระทบต่อไทยผ่านการส่งออก Export of Goods and Services เปรียบเทียบแต่ละไตรมาส Millions of Baht
22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. GDP ไตรมาสที่ 4/2552 ขยายตัวร้อยละ 5.8 เป็นการขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่หดตัวต่อเนื่องมาตั้งแต่ไตรมาสที่ 4/2551 โดย GDP ปี 2552 ลดลงร้อยละ 2.3 เป็นผลจากการส่งออกสุทธิที่เพิ่มสูงขึ้นรวมทั้งการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของครัวเรือนที่ขยายตัวร้อยละ 1.4 หลังจากลดลงต่อเนื่องมา 3 ไตรมาสรวมถึงการใช้จ่ายอุปโภคของรัฐบาลที่ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 5.2 ส่วนการลงทุนรวมยังคงหดตัวร้อยละ 3.4 แต่ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสที่แล้วที่หดตัวร้อยละ 6.3 เนื่องจากการลงทุนด้านการก่อสร้างที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวร้อยละ 4.1 ส่วนการนำเข้าสินค้าและบริการหดตัวร้อยละ 7.6
22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ภาคเกษตรโดยรวมหดตัวร้อยละ 2.2 จากที่หดตัวร้อยละ 1.5 ในไตรมาสที่ 3 โดยมีผลผลิตพืชสำคัญที่ลดลงเช่นข้าวยางพารามันสำปะหลังและสับปะรดเป็นต้นในขณะที่ระดับราคาโดยรวมสูงขึ้นส่วนประมงขยายตัวร้อยละ 3.0 สอดคล้องกับการส่งออกกุ้งแช่แข็งที่เพิ่มขึ้น
22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ภาคนอกเกษตรขยายตัวร้อยละ 6.9 จากที่หดตัวร้อยละ 2.8 ไตรมาสที่แล้วโดยสาขาอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 9.9 จากอุตสาหกรรมการส่งออกที่ขยายตัวสูงเช่นคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้านอกจากนั้นสาขาโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวร้อยละ 13.5 จากที่หดตัวร้อยละ 2.5 เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้นมากในไตรมาสนี้ถึงร้อยละ 27.7 และสาขาคมนาคมและขนส่งขยายตัว 6.9 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวในไตรมาสที่ 3
22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ส่งออกสินค้าและบริการสุทธิ
22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. อัตราการขยายตัวของ QGDP
แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2553 ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา • การตัดสินใจของภาครัฐที่จะคงนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจต่อ หรือไม่ • อัตราแลกเปลี่ยน • อัตราเงินเฟ้อ • ความสำเร็จของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • ความสามารถในการขยายตลาดใหม่ • เสถียรภาพทางการเมือง
ลงอย่าเศร้า ขึ้นอย่าหลงระเริง • จากวิกฤตต้มยำกุ้ง สู่ • วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ สู่ • วิกฤตดูไบ • วิกฤตหนี้ท่วมกรีซ • วิกฤตหนี้ท่วม PIIGS
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืน “วิถีทางดำเนินของบ้านเมืองและของประชาชนโดยทั่วไป มีความเปลี่ยนแปลงมาตลอด เนื่องมาจากความวิปริตผันแปร ของวิถีแห่งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่น ๆ ของโลก ยากยิ่ง ที่เราจะหลีกเลี่ยงให้พ้นได้ จึงต้องระมัดระวัง ประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการเป็นอยู่โดยประหยัดเพื่อที่จะอยู่ให้รอดและก้าวหน้าต่อไปได้โดยสวัสดี” (พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 31 ธันวาคม 2521)
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดินเปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำ (พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพะเจ้าอยู่หัวจากวารสารชัยพัฒนา)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียงหมายถึงความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ) มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรมความ ซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความ อดทนความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้ง ทางด้านวัตถุสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดี ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดำรัสของพรบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งพระราชทานใน วโรกาสต่างๆรวมทั้งพระราชดำรัสอื่นๆที่เกี่ยวข้องโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำไปเผยแพร่ เมื่อวันที่ ๒๑พฤศจิกายน๒๕๕๒เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและประชาชนโดยทั่วไป
จากอดีต การเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ-มีการปรับตัว = ภูมิคุ้มกัน ปัจจุบัน อนาคต
การจัดการกับการเปลี่ยนแปลงการจัดการกับการเปลี่ยนแปลง • ไม่ประมาทในทุกสภาวะ • เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา • สรุปบทเรียนตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลง เป็นวัฏจักร
เศรษฐกิจพอเพียงกับหนทางข้างหน้าเศรษฐกิจพอเพียงกับหนทางข้างหน้า เป็นหลักปรัชญาที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อการลดความยากจน เป็นหลักปรัชญาพื้นฐานของการสร้างพลังอำนาจ ของชุมชนและพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ
เป็นหลักปรัชญาช่วยยกระดับความรับผิดชอบของเป็นหลักปรัชญาช่วยยกระดับความรับผิดชอบของ บริษัทเอกชน ด้วยการสร้างข้อปฏิบัติในการทำธุรกิจ ที่เน้นผลกำไรในระยะยาว แม้ในสถานการณ์ แห่งการแข่งขัน เป็นแนวทางกำหนดนโยบายของชาติ สร้างภูมิคุ้มกัน กับสิ่งที่เข้ามากระทบ