1 / 39

วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน

วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน. รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน.

brasen
Download Presentation

วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐานวิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. วิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐานวิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน บทความนี้เป็นความพยายามที่จะอธิบายถึงภูมิหลังของปัญหาที่เกิดขึ้นอันเป็นผลมาจาก สภาพแวดล้อมทางการเงินที่เปลี่ยนไป เพื่อให้สามารถทราบได้ถึงสาเหตุของปัญหาว่าที่แท้จริงว่าเป็นปัญหามาจากผู้กู้ต่ำกว่าระดับและ/หรือเกิดมาจากปัจจัยอื่นๆ และเมื่อได้ทราบถึงสาเหตุแล้วจะหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ตรงจุดได้อย่างไร

  3. บทความนี้จะประกอบไปด้วยเนื้อหาทั้งสิ้น 6 ส่วน ดังนี้ • คำจำกัดความ “ผู้กู้ต่ำกว่าระดับ” • วิเคราะห์ความเป็นมากับวิกฤตการเงินในครั้งนี้ • นวัตกรรมทางการเงินที่เกิดขึ้น • สาเหตุของวิกฤตกับ “ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน” • ช่องทางในการส่งผลกระทบ • อะไรคือสาเหตุที่แท้จริง

  4. 1. อะไรคือ “ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน” • ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน อาศัยคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้ • ประวัติการชำระหนี้ • ความสามารถในการแจกแจงที่มาของรายได้ • DTI(debt service-to-income ratio) • LTV (loan-to-value)

  5. 1. อะไรคือ “ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน”(2) • มาตรวัดความสามารถในการชำระเงินกู้ เช่น หากผู้กู้ที่มี “คะแนน”ของ DTI มากกว่าร้อยละ 55 และ/หรือ มี LTV มากกว่าร้อยละ 85 อาจถูกพิจารณาว่าเป็น “ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน” • หากมี “คะแนน”มากกว่านี้และสามารถแจกแจงที่มาของรายได้ ผู้กู้นั้นก็จะกลายเป็น “ผู้กู้มาตรฐาน” หรือ prime borrower

  6. 2. ภูมิหลังของวิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน • ตลาดการเงิน “เปิด” สำหรับ “ผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน” โดย near bank เป็นผู้ปล่อยกู้รายใหญ่ • ตัวแบบทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป จาก “ Originate-to-hold เป็น Originate-to-distribute” • ทำให้ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากปีค.ศ.1995ที่มีปริมาณการให้กู้ประมาณ 6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯมาเป็น 3.75 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯในปี ค.ศ.2003

  7. 2. ภูมิหลังของวิกฤตการเงินจากผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน(2) Selected Countries: Size of Financial Assets (In multiples of GDP) ที่มา: Kiff(2007)

  8. 3. กลไกในการขายสินทรัพย์ออกจากบัญชีงบดุล 3.1 Securitization • การรวบรวมและจักกลุ่มสินทรัพย์หลายประเภทที่มีรายได้ เพื่อนำมาขายต่อยังนักลงทุนในรูปของตราสารทางการเงิน • ธนาคารนำสินเชื่อในการปล่อยกู้ซื้อบ้าน มาจัดกลุ่มเพื่อขายให้กับผู้ที่สนใจ ผู้ที่สนใจก็จะออกตราสารหนี้เพื่อระดมทุนมาซื้อสินทรัพย์ที่รวมห่อใหม่นี้ หากมีสินทรัพย์ค้ำประกันจะเรียกว่า credit enhancement

  9. 3. กลไกในการขายสินทรัพย์ออกจากบัญชีงบดุล(2) 3.2 Credit Enhancement • ตราสารหนี้ที่ นายหน้า/ผู้ซื้อ เป็นคนออกจะถูกแบ่งออกเป็น tranche และจัดลำดับตามลำดับการปกป้อง credit default จากบนลงล่าง และลำดับความเสี่ยงที่เผชิญอยู่ (risk exposure) ที่จะมี loss sequence จากล่างสู้บน

  10. Creation of Asset-Backed Securities from Mortgage Loans: Subprime and Prime Seconds ที่มา: IMF(2008b)

  11. 3.3Structured Credit Products Note: ABS = Asset-backed security, MBS = Mortgage-backed security, RMBS = Residential Mortgage-backed security CMBS = Commercial Mortgage-backed security, CDS = Credit Default Swap, CDOs = Collateralized Debt Obligations *Not proportionally representative ที่มา: IMF(2008b)

  12. 3.3Structured Credit Products(2) • CDO กับ Securitization • ความเหมือน : CDO เป็น ABS ที่สร้างมาจากการรวมห่อสินทรัพย์ที่มีกระแสรายได้ เช่นเดียวกับ Securitization • ความต่าง : ผู้ที่ลงทุนใน CDO จะไม่ได้เป็นเจ้าของในทรัพย์สินที่นำมารวมห่อโดยตรง

  13. 3.3Structured Credit Products(3) • การเข้าไปลงทุนใน subprime MBS จึงเป็นบทบาทของ CDO ที่มีต่อผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน • ทำให้ผู้ลงทุนไม่สามารถทราบแน่ชัดว่าทรัพย์สินที่นำมาหนุนหลังนั้นมีใครเป็นเจ้าของบ้าง ทำให้เกิด mispricing

  14. 3.4CDO as Multilayered Structured Credit Products ที่มา: IMF(2008b)

  15. 4. ปัจจัยที่ทำให้เกิดวิกฤตการเงินกับผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน? • ระหว่าง ค.ศ. 1995-2005 ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีทีท่าจะหยุด สินเชื่อโดยเฉลี่ยต่อรายมีขนาดใหญ่ขึ้น อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่ำ และตัวแบบธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปในการปล่อยกู้ของสถาบันการเงิน • เมื่อการผิดนัดชำระหนี้ เพิ่มขึ้นอย่างมากในปี ค.ศ. 2006 โดยเฉพาะในกลุ่มผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน มีอัตราการผิดนัดชำระหนี้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 2005

  16. 4. ปัจจัยที่ทำให้เกิดวิกฤตการเงินกับผู้กู้ต่ำกว่ามาตรฐาน?(2) • แต่ตราสารทางการเงินอื่นๆ เช่น hedge fund, Emerging market equity ฯลฯ อาจเป็นสาเหตุได้เช่นกัน • จึงมีการเพ่งเล็งไปที่การประเมินความเสี่ยงผิดพลาด(mispricing)

  17. All mortgage originations ที่มา: Kiff(2007)

  18. Actual and Equilibrium Real Home Prices:Actual 2000=100 ที่มา : Klyuev(2008)

  19. U.S. Mortgage Delinquency by Vintage Year(60+ day delinquencies, in percent of original balance) ที่มา: IMF(2008b)

  20. U.S. Residential Mortgage delinquency Rates

  21. 5. การประเมินผลกระทบ 5.1 ผลกระทบในภาคการเงิน • ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีขนาดใหญ่กว่าวิกฤตที่เกิดขึ้นในอดีต • มีผลกระทบที่เกิดขึ้นกับภาคการเงินที่แตกต่างกันไป

  22. 5.1 ผลกระทบในภาคการเงิน(ต่อ) ที่มา: IMF(2008b)

  23. Estimates of Financial Sector Potential Writedowns (In billions of U.S. dollars) ที่มา: IMF(2008b)

  24. 5.2 ผลกระทบนอกภาคการเงิน • เกิดปัญหา credit risk ที่มีผลต่อวัฏจักรธุรกิจ(business cycle) ในลักษณะของ boom-bust ที่ทำให้เกิดความผันผวนในภาวะเศรษฐกิจ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ปัญหา credit risk ที่มี่ผลต่อ liquidity risk ในที่สุด • วิกฤตการเงินจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคแล้ว ยังมีผลกระทบย้อนกลับ(feedback loop) จากเศรษฐกิจมหภาคกลับมาสู่ภาคการเงินอีก

  25. A Framework for Micro-Financial Linkages ที่มา : Bayoumi(2008

  26. 5.2 ผลกระทบนอกภาคการเงิน(ต่อ) • ผลกระทบส่วนใหญ่จะเกิดกับการลงทุนผ่าน Lending Standard

  27. The Impact an Adverse Capital Shock on the Level of GDP and Its Components ที่มา : Bayoumi(2008

  28. 6. อะไรคือสาเหตุที่แท้จริง 6.1 ช่องว่างของความคลุมเครือในห่วงโซ่ของตัวแบบธุรกิจใหม่ • ตัวแบบธุรกิจใหม่มีผลทำให้เกิดการ mispricing ที่ไม่สามารถประเมินความเสี่ยงได้ เนื่องจาก • ในทางการเงินที่อาจเนื่องมาจากเป็นเจ้าของผ่าน SPV • ในทางกายภาพที่ผู้ลงทุนอาจอยู่ห่างจากทรัพย์สินที่ตนเองเป็นเจ้าของนับเป็นพันๆไมล์

  29. 6.1 ช่องว่างของความคลุมเครือในห่วงโซ่ของตัวแบบธุรกิจใหม่(2) • ทำให้มีความคลุมเครือในโครงสร้างความเป็นเจ้าของ เป็นปัจจัยที่เบี่ยงเบนแรงจูงใจในการประเมินความเสี่ยง เช่น • นายหน้าและ/หรือตัวแทนของธนาคารที่เป็น originator มีผลตอบแทนจากค่าธรรมเนียมที่ไม่ขึ้นอยู่กับคุณภาพของผู้กู้ • ธนาคารซึ่งเป็นoriginator ไม่มีแรงจูงใจภายใต้ตัวแบบธุรกิจใหม่

  30. 6.1 ช่องว่างของความคลุมเครือในห่วงโซ่ของตัวแบบธุรกิจใหม่(3) • เนื่องจากแหล่งที่มาของรายได้ที่เปลี่ยนไปและความต้องการสัญญาเงินกู้เพื่อมาทำ securitization มีมากขึ้น • เพราะมีผู้ลงทุนต้องการมาก underwritersจึงมีแรงจูงใจที่จะลดหย่อนมาตรฐานการให้กู้ (poor practice) • การเพิ่มค่า(credit enhancement) โดยการ tranching ทำให้ SPV สามารถที่จะสร้างสินค้าให้มีคุณสมบัติตรงตามที่ผู้ลงทุนในแต่ละประเภทต้องการให้มีได้โดยง่าย

  31. 6.1 ช่องว่างของความคลุมเครือในห่วงโซ่ของตัวแบบธุรกิจใหม่(4) • มีการขัดกันของผลประโยชน์ระหว่าง rating agencies เนื่องจากได้รับค่าบริการประเมินจากผู้ออกตราสารที่ต้องการให้มีการจัดลำดับก่อนนำออกขาย • ผู้จัดการกองทุนต่างๆมีแนวโน้มที่จะใช้ CDO นี้เพื่อที่จะปรับปรุงคุณภาพของกองทุนที่ตนเองบริหารอยู่ให้มีความเสี่ยงต่ำแต่ผลตอบแทนสูงกว่าค่าเฉลี่ย

  32. 6.1 ช่องว่างของความคลุมเครือในห่วงโซ่ของตัวแบบธุรกิจใหม่(4) Number of Violations of Mortgage-Related Fraud SARs ที่มา : FitchRatings(2008)

  33. Information Asymmetries

  34. 6.2 การประเมินความเสี่ยงที่สลับซับซ้อนของ structured finance products • ปัญหาในประเด็นนี้อาจสรุปให้เห็นโดยง่ายก็คือ CDO ที่อยู่ใน tranche A และได้รับ rating AAA จะมีความเสี่ยงเท่ากับ พันธบัตรรัฐบาลที่มี rating AAA จริงหรือไม่ • Mispricing จาก Credit Enhancement

  35. 6.2 การประเมินความเสี่ยงที่สลับซับซ้อนของ structured finance products(2) • การพึ่งพา rating agenciesในการลงทุนโดยที่ผู้ลงทุนไม่มีการประเมินการลงทุนด้วยตนเองจึงเป็นที่มาของการเกิดวิกฤตการเงินในครั้งนี้ เพราะผู้ลงทุนถูกทำให้เชื่อว่าเขากำลังลงทุนในทรัพย์สินทางการเงินที่มีความเสี่ยงต่ำกว่าความเป็นจริงหรือ misprice นั่นเอง Credit risk ≠ Market risk ≠ Liquidity risk

  36. Credit Spreads on AAA Mortgage-Backed Securities Versus AAA and BBB U.S. Corporate Bonds (In Basis points) ที่มา: IMF(2008b)

  37. One-Year Cohort Downgrades ที่มา: IMF(2008b)

  38. ข้อสรุป • วิกฤตการเงินในครั้งนี้เกิดขึ้นมาจากสาเหตุหลายประการ กล่าวคือ • ระหว่างปี ค.ศ.2002 -2006 เศรษฐกิจโลกมีสภาพคล่องเหลือค่อนข้างมากทำให้อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับต่ำ เกิดความต้องการที่จะหาหนทางลงทุนที่ได้ผลตอบแทนสูง • วัฎจักรของอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ในช่วงขาขึ้นทำให้การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์มีมาก

  39. ข้อสรุป • เกิดการขาดวินัย ฉ้อฉล ทำให้เกิดปัญหาฟองสบู่เหมือนอย่างที่เคยเกิดมาในหลายๆภูมิภาคแม้แต่ในประเทศไทย • อย่างไรก็ตามสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา คือ ตัวแบบธุรกิจในภาคการเงินได้เปลี่ยนแปลงไปจาก originate-to-hold ไปเป็น originate-to-distribute • เกิดนวัตกรรมทางการเงินที่มีความสลับซับซ้อนและยากต่อการประเมินความเสี่ยง

More Related