720 likes | 972 Views
โครงการ สพร. สัญจร. สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ. กระทรวงการต่างประเทศ. 22 กุมภาพันธ์ 255 4. วัตถุประสงค์ของโครงการฯ. เพื่อชี้แจงบทบาทของ สพร. และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์. 2. บทบาทของ สพร. ต่อ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
E N D
โครงการ สพร. สัญจร สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ 22 กุมภาพันธ์ 2554
วัตถุประสงค์ของโครงการฯวัตถุประสงค์ของโครงการฯ • เพื่อชี้แจงบทบาทของ สพร. และแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ 2
บทบาทของ สพร. ต่อ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ 3
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance – ODA)
ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา (ODA) ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan) ความร่วมมือแบบให้เปล่า(Grant Aid) ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)
การให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทยการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของไทย ความร่วมมือทางการเงิน(Soft Loan) ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)
หน่วยงานดำเนินงาน -สนง.พัฒนาเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้าน - สพพ. (Neighboring Countries Economic Development Agency - NEDA) ความร่วมมือทางการเงิน (Soft Loan)
หน่วยงานดำเนินงาน สนง.ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ – สพร. (Thailand International Development Cooperation Agency – TICA) ความร่วมมือทางวิชาการ (Technical Cooperation)
สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ (สพร.) Thailand International Development Cooperation Agency (TICA) กระทรวงการต่างประเทศ
กวส. - สพร. สนง.ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศ กรมวิเทศสหการ กรมวิเทศสหการ สำนักนายก รัฐมนตรี ก.ต่างประเทศ ก.ต่างประเทศ 2506 - 2545 2545 - 2547 2547 -
ความเป็นมาของ สพร. • พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 กำหนด ให้โอนกรมวิเทศสหการไปเป็นส่วนราชการภายใต้สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ และยุบเลิกภายใน 2 ปี • ในปี 2547 กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการยุบเลิก กรมวิเทศสหการและจัดตั้งสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.)
อำนาจหน้าที่ สพร. • จัดทำแผน ศึกษา วิเคราะห์นโยบาย ดำเนินโครงการ ติดตามและประเมินผล • บริหารการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ • ร่วมมือกับต่างประเทศในการพัฒนาทั้งทวิภาคี และพหุภาคี
อำนาจหน้าที่ สพร. • บริหารความร่วมมือด้านทุนต่างประเทศ • ประสานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ • บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้และผลงาน การพัฒนา
ภารกิจหลักของ สพร. • ให้ความร่วมมือทางวิชาการแก่ประเทศที่กำลังพัฒนาต่างๆ • หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาภายใต้กรอบความร่วมมือและความตกลงระหว่างประเทศทั้งในระดับ ทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี
ภารกิจหลักของ สพร. • พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกำลังพัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ • อำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการความร่วมมือเพื่อการพัฒนา
โครงสร้าง สพร. ผอ. สพร. รอง ผอ. สพร. รอง ผอ. สพร. ภารกิจความร่วมมือหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ภารกิจให้ความร่วมมือเพื่อ การพัฒนากับต่างประเทศ ภารกิจความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สำนักผู้อำนวยการ ภารกิจอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการ ส่วนวางแผนและติดตามผลการให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ กลุ่มงานบริหารงานทั่วไป ส่วนความร่วมมือหุ้นส่วนทวิภาคี ส่วนบริหารงบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ส่วนความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 1 ส่วนให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ 1 กลุ่มงาน สารสนเทศและประชาสัมพันธ์ ส่วนความร่วมมือหุ้นส่วนพหุภาคี ส่วนความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2 ส่วนอำนวยสิทธิพิเศษและพัสดุโครงการ ส่วนให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ 2
ที่มาของนโยบาย/แนวทางที่มาของนโยบาย/แนวทาง
มติ ครม. นโยบายรัฐบาล ด้านการต่างประเทศ/ การพัฒนา ยุทธศาสตร์ตาม กรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ คณะกรรมการนโยบาย ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ นโยบายของ ประเทศคู่ร่วมมือ ความร่วมมือ เพื่อการพัฒนา
นโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือฯนโยบาย/แนวทางการให้ความร่วมมือฯ • ส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม • ส่งเสริมการค้าการลงทุนของไทย • ส่งเสริมโอกาสการพัฒนาขีดความสามารถเชิงวิชาการของหน่วยงานไทย • แลกเปลี่ยนความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ วิชาการ • ความร่วมมือระหว่างสถาบัน ไทย - ต่างประเทศ
กลไกการดำเนินงานความร่วมมือ ในประเทศ คณะกรรมการนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และวิชาการกับต่างประเทศ • คณะอนุกรรมการรวบรวมข้อมูลการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • คณะทำงานจัดทำยุทธศาสตร์การให้ความร่วมมือทางวิชาการ
กลไกการดำเนินงานความร่วมมือฯ ระหว่างประเทศ • การประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือ (Joint Commission) • การประชุมความร่วมมือวิชาการประจำปี (Annual Consultation)
แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาสถาบัน • สนับสนุนการดำเนินงานในรูปแผนงาน/โครงการให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • พัฒนาความร่วมมือลักษณะหุ้นส่วน - แหล่งผู้ให้ : Partnership, Trilateral (North – South – South Cooperation) - ประเทศคู่ร่วมมือ : พัฒนาไปด้วยกัน (South – South Cooperation) (South – South – South Cooperation)
แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯแนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯ • คำนึงถึงความสามารถและความต้องการเร่งด่วนของประเทศคู่ร่วมมือ • ประโยชน์ร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายประเทศคู่ร่วมมือ
แนวทางการดำเนินงานความร่วมมือฯDemand – driven Approach
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ พ.ศ.2550-2554 • ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารายประเทศ (CLMV) และภายใต้กรอบ ACMECS พ.ศ. 2551-2554 • ร่างยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย - แอฟริกา และไทย - เอเชียกลาง พ.ศ. 2552-2554
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมและสนับสนุนบทบาทของไทย ในการเป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ ระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมบทบาทและขีดความสามารถของ ผู้เชี่ยวชาญ อาสาสมัครและสถาบันของไทยสู่สากล
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การดำเนินงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา เชิงรุก ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของไทย 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมความร่วมมือเพื่อการพัฒนาในระดับ ภูมิภาค/อนุภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 6 การขยายความร่วมมือแบบหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 7 การส่งเสริมความร่วมมือภาครัฐ – เอกชน และภาค ประชาสังคมในการดำเนินงานความร่วมมือเพื่อ การพัฒนา
ประเภทของความร่วมมือทางวิชาการประเภทของความร่วมมือทางวิชาการ • ผู้เชี่ยวชาญ • ทุนศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงาน • วัสดุ/อุปกรณ์ • อาสาสมัครเพื่อนไทย(Friend from Thailand)
รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ความร่วมมือแบบทวิภาคี (Bilateral Programme - แผนงาน (Country Program) - โครงการเต็มรูป
รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 2. หลักสูตรฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (Annual International Training Courses: AITC) ปี 2554 – 2556 จำนวน 16 หลักสูตร ใน 4 สาขาหลัก Sufficiency Economy, Food Security, Public Health, Global Warming
รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา 3. หลักสูตรศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตร นานาชาติประจำปี (Thai International Postgraduate Programme: TIPP) ปี 2554 – 2556 จำนวน 14 สาขา ใน 4 สาขาหลัก Sufficiency Economy, Food Security, Public Health, Global Warming
รูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนารูปแบบการให้ความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา (Technical Cooperation among developing Countries: TCDC) • ความร่วมมือกับองค์การระหว่างประแทศจัดหลักสูตรศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานในประเทศไทย (Third Country Training Programme: TCTP)
สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • เกษตรและพัฒนาชนบท • ศึกษา • สาธารณสุข • ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
สาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนาสาขาความร่วมมือเพื่อการพัฒนา • พัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน
กลุ่มประเทศเป้าหมายความร่วมมือฯกลุ่มประเทศเป้าหมายความร่วมมือฯ การกำหนดกลุ่มประเทศเป้าหมาย • ผลกระทบเชิงบวกต่อประเทศไทยและคู่ร่วมมือ • วาระเร่งด่วนของโลกและปัญหาที่เผชิญร่วมกันในภูมิภาค • ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ร่วมมือ เป็นตัวกำหนดแนวทางการดำเนินงานให้ความร่วมมือ
กลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาคกลุ่มประเทศเป้าหมายในแต่ละภูมิภาค • กลุ่มประเทศยากจน • กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจค่อนข้างดี และใกล้เคียงกับไทย หรือดีกว่า
กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กลุ่มประเทศเป้าหมายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า • กลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกับไทย ได้แก่ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน • ประเทศเกิดใหม่ในภูมิภาค คือ ติมอร์ เลสเต้
กลุ่มประเทศเป้าหมายตามลำดับความสำคัญกลุ่มประเทศเป้าหมายตามลำดับความสำคัญ • กลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน (C L M V) • กลุ่มประเทศในเอเชียใต้และหมู่เกาะแปซิฟิก (บังคลาเทศ ภูฎาน) • กลุ่มประเทศแอฟริกา • กลุ่มประเทศลาตินอเมริกาและแคริบเบียน • กลุ่มประเทศในตะวันออกกลาง
รูปแบบของความร่วมมือฯรูปแบบของความร่วมมือฯ กลุ่มประเทศยากจน - ไทย เป็น ผู้ให้ - ไทย ร่วมกับแหล่งผู้ให้อื่น กลุ่มประเทศที่มีเศรษฐกิจใกล้เคียงกับไทย หรือ ดีกว่า - ร่วมกันออกค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานร่วมกัน
Colombo Plan MGC ACMECS ASEAN GMS IMT-GT BIMST-EC กรอบความร่วมมือที่สำคัญ
กรอบความร่วมมือในภูมิภาคกรอบความร่วมมือในภูมิภาค GMS : Greater Mekong Sub-Region Ayeyawady- Chao Phraya- Mekong Economic Cooperation Strategy ACMECS : Emerald Triangle Cooperation ETC:
กรอบความร่วมมือในภูมิภาคกรอบความร่วมมือในภูมิภาค MGC : Mekong - Ganga Cooperation JDS: Joint Development Strategy Indonesia Malaysia Thailand Growth Triangle IMT-GT:
Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical & EconomicCooperation BIMSTEC: ASEAN IAI: Initiative for Association of South - East Asian Nations Integration
ความร่วมมือในกรอบภูมิภาค และอนุภูมิภาคต่าง ๆ • GMS • ACMECS • BIMSTEC • IMT- GT • ASEAN – IAI • PIF • CARICOM • FEALAC • Etc. • COLOMBO PLAN • APEC • ASEM • ACD
งบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนางบประมาณความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ล้านบาท 900 810 ขอจัดสรร 800 ได้รับอนุมัติ 700 581 547 543 600 532 511 509 480 468 500 422 370 350 345 400 280 300 235 162 200 100 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • พันธะต่อประชาคมโลก - ประเทศที่มีความพร้อมและเข้มแข็งช่วยเหลือประเทศที่ยังขาดแคลนและยากจน - ข้อผูกพันต่อการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
เหตุผลของการให้ความร่วมมือเหตุผลของการให้ความร่วมมือ • การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามแนวชายแดน • แก้ไขวิกฤติและลดปัญหาความยากจนของประเทศที่กำลังพัฒนา
ประโยชน์ที่ไทยได้รับ • ส่งเสริมบทบาทของไทยในภูมิภาคต่างๆ • ความไว้วางใจและความเชื่อมั่นที่มีต่อไทย • เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ และความมั่นคง