1 / 66

Teaching Management for Special Needs

Teaching Management for Special Needs. พญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์ ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. ปัญหาเด็กไทย. เด็กไทยกับเรื่องเพศ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เด็กไทยกับการพนัน อบายมุข แอลกอฮอล์ สารเสพติด อุบัติเหตุและความรุนแรง. ปัญหาการเรียนรู้ ( Learning Difficulty).

bree
Download Presentation

Teaching Management for Special Needs

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Teaching Management for Special Needs พญ. อัมพร เบญจพลพิทักษ์ ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต

  2. ปัญหาเด็กไทย • เด็กไทยกับเรื่องเพศ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น • เด็กไทยกับการพนัน อบายมุข แอลกอฮอล์ สารเสพติด • อุบัติเหตุและความรุนแรง

  3. ปัญหาการเรียนรู้ (Learning Difficulty) “ความผิดปกติที่มีลักษณะหลากหลายที่ปรากฎเด่นชัดถึงความยากลำบากในการฟัง พูด อ่าน เขียน การให้เหตุผลและความสามารถทางคณิตศาสตร์ สาเหตุสำคัญจากความบกพร่องของระบบประสาทส่วนกลาง”

  4. พบLDบ่อยแค่ไหน พบร้อยละ 6-10 ในเด็กวัยเรียน ชาย : หญิง 4:1 บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้สำรวจได้ในปี พ.ศ. 2548 จำนวน 271,815 คน ได้รับการบริการทางการศึกษา จำนวน 16,928 คน คิดเป็นร้อยละ 6.23

  5. LD มีกี่ประเภท • 4 ประเภท 1. ความบกพร่องด้านการอ่าน (dyslexia) 2. ความบกพร่องด้านการเขียนและสะกดคำ 3. ความบกพร่องด้านการคำนวณ 4. ความบกพร่องหลายด้านรวมกัน

  6. LD เกิดจากอะไร ความผิดปกติของสมอง - ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ คลอด - โรคทางระบบประสาท - ขาดสารอาหาร 2. กรรมพันธุ์ พบในญาติสายตรง 35-50%

  7. การรับข้อมูล (input process)  การรวบรวมข้อมูล (Integration process)  ความจำ (Memory process)  การถ่ายทอดข้อมูล (Output process)

  8. รู้สึกตัวเอง ไม่เก่ง รู้สึกด้อย ขาดความมั่นใจ มักตอบว่า “ทำไม่ได้” “ไม่รู้” อารมณ์หงุดหงิด ขึ้นลงง่าย เบื่อหน่าย ท้อแท้กับการเรียน ก้าวร้าวกับเพื่อน ครู พ่อแม่ (ที่จ้ำจี้จ้ำไช) ไม่อยากมาเรียน โทษว่าครูสอนไม่ดี เพื่อนแกล้ง ความรู้สึกของเด็ก

  9. ความเห็นของครู หลีกเลี่ยงการอ่านการเขียน ความจำไม่ดี ได้หน้าลืมหลัง ไม่ตั้งใจเรียน ทำงานช้า ไม่เสร็จ ต่อต้าน ดื้อเงียบ ไม่ทำตามครูสั่ง ดูเป็นเด็กขี้เกียจ

  10. แบบคัดกรองLD • แบบคัดกรองบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ • แบบคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น บกพร่องทางการเรียนรู้ และออทิซึม (KUS-SI)

  11. ปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ที่พบร่วมปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ที่พบร่วม สมุดหายบ่อยๆ ไม่มีสมาธิในการเรียน ทำงานช้า ไม่เสร็จ สะเพร่า ต่อต้าน ดื้อ วุ่นวาย ไม่ทำตามครูสั่ง ขี้เกียจ แปลกๆ ก้าวร้าว

  12. โรคที่พบร่วมกับ LD • พบโรคร่วมได้ถึง 30-40% • สมาธิสั้น 45% • ปัญหาการพูดเช่น พูดช้า 20-30% พูดไม่ชัด 13% • ปัญหาพฤติกรรม เช่น ดื้อ ต่อต้าน หนีรร. ก้าวร้าว ใช้สารเสพย์ติด • โรคซึมเศร้า วิตกกังวล • ปัญหากล้ามเนื้อมือทำงานบกพร่อง

  13. โรคสมาธิสั้นADHDAttention Deficit Hyperactive Disorder

  14. โรคสมาธิสั้น คืออะไร • ความผิดปกติของสมองที่ทำให้เด็กมีความบกพร่องของสมาธิและความสามารถในการควบคุมตัวเอง • - สมาธิสั้น (inattentiveness) • - ซน (hyperactivity) • - หุนหันพลันแล่น (impulsivity)

  15. พบโรคนี้บ่อยแค่ไหน • - 3-5% ของเด็กวัยเรียน • - เด็กผู้ชายจะมีอาการซน , หุนหันพลันแล่น และก่อให้เกิดปัญหาพฤติกรรมบ่อยกว่าเด็กผู้หญิง • - อาการขาดสมาธิ พบได้บ่อยพอๆกันทั้งในเด็กชายและเด็กหญิง

  16. สิ่งที่ครูมักจะเขียนในสมุดพกสิ่งที่ครูมักจะเขียนในสมุดพก • ไม่ค่อยตั้งใจเรียน • ขาดความรับผิดชอบ ขาดระเบียบวินัย • ชอบคุยในห้องเรียน • ขาดความรอบคอบ ทำงานไม่เรียบร้อย • วอกแวกง่าย ต้องคอยกระตุ้นบ่อยๆ • อยู่ไม่นิ่ง ชอบลุกเดินในห้องเรียน • ก้าวร้าว หยาบคาย • หัวหน้าแก๊ง มาเฟีย

  17. การวินิจฉัย • กลุ่มอาการขาดสมาธิ • 1. ไม่มีสมาธิ • 2. ไม่รอบคอบ ทำงานผิดพลาด สะเพร่า • 3. ขาดความตั้งใจเวลาทำงาน • 4. ดูเหมือนไม่ฟังเวลาพูด • 5. ทำงานไม่เสร็จ ไม่มีระเบียบ • 6. วอกแวกง่าย • 7. หลงลืม • 8. ทำของใช้ส่วนตัวหายเป็นประจำ • 9. หลีกเลี่ยงงานที่ต้องใช้ความคิด

  18. กลุ่มอาการซนอยู่ไม่นิ่งกลุ่มอาการซนอยู่ไม่นิ่ง • 1. ยุกยิก อยู่ไม่สุข • 2. ชอบลุกจากที่นั่ง • 3. วิ่ง, ปีนป่าย, เล่นโลดโผน • 4. ไม่สามารถเล่นหรืออยู่เงียบๆ เสียงดัง • 5. พลังงานเหลือเฟือ ซนมากตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน • 6. พูดมาก พูดไม่หยุด

  19. กลุ่มอาการหุนหันพลันแล่นกลุ่มอาการหุนหันพลันแล่น • 1) โพล่งคำตอบออกมาก่อนคำถามจบ • 2) ใจร้อน รอคอยอะไรไม่ค่อยได้ • 3) ชอบพูดแทรกขณะผู้อื่นกำลังพูดอยู่

  20. อาการเกิดก่อนอายุ 7 ปี ส่วนใหญ่จะเห็นชัดเจนในช่วงอายุ 3-6 ปี • อาการต้องแสดงออกให้เห็นชัดเจนในหลาย ๆ สถานที่ เช่น ที่บ้าน และที่โรงเรียน

  21. สาเหตุ • ความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง • กรรมพันธุ์ • สิ่งแวดล้อม

  22. ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น • “ลูกไม่น่าเป็นสมาธิสั้น เพราะเขาดูทีวี เล่น com. เล่นวิดีโอเกม ได้นานเป็นชั่วโมงๆ ” • “ลูกเขาเล่นของเล่นที่เขาชอบได้ตั้งนาน” • “เด็กซนเป็นเด็กฉลาด” • “เขาก็เป็นแค่เด็กซนๆคนหนึ่งเท่านั้น” • “โรคสมาธิสั้น เป็นแค่แฟชั่นอย่างหนึ่งของสังคม”

  23. แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคสมาธิสั้นได้อย่างไรแพทย์สามารถวินิจฉัยโรคสมาธิสั้นได้อย่างไร • รวบรวมประวัติอย่างละเอียด (จากครู และผู้ปกครอง) • ตรวจร่างกาย การมองเห็น การได้ยิน • ตรวจความจำ สมาธิ ความสามารถในการวิเคราะห์ • ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ หรือ เอ็กซเรย์ที่ใช้ในการวินิจฉัย

  24. ลักษณะทั่วไปของออทิสติกลักษณะทั่วไปของออทิสติก • ด้านสังคมและความบกพร่องด้านสัมพันธภาพ 0-1ปี เด็กออทิสติกจะไม่ชอบให้อุ้ม ไม่กอดตอบเวลาอุ้ม ไม่สบตา ไม่สนใจตามหา ไม่สนใจคน หรือสิ่งรอบตัว แต่พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวยังอยู่ในเกณฑ์ปกติ

  25. ลักษณะทั่วไปของออทิสติกลักษณะทั่วไปของออทิสติก 2-5ปี ไม่สนใจเล่นกับเพื่อน ไม่สบตา ไม่สนใจใคร ชอบแยกตัว ไม่รับรู้อารมณ์ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ไม่รู้ความแตกต่างระหว่างคนกับสิ่งของ ด้านสังคมและความบกพร่องด้านสัมพันธภาพ

  26. ลักษณะทั่วไปของออทิสติกลักษณะทั่วไปของออทิสติก ด้านสังคมและความบกพร่องด้านสัมพันธภาพ 6-9ปี เด็กออทิสติกที่ได้รับการพัฒนาก่อน 5 ปี เด็กมักจะเริ่มดีขึ้น โดยเฉพาะเรื่องอารมณ์ มีความเข้าใจสิ่งต่างๆมากขึ้น และต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆน้อยลง

  27. ความบกพร่องของการสื่อสารความบกพร่องของการสื่อสาร • ไม่เข้าใจภาษาพูด • ตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ • ไม่มีการแสดงท่าทางเพื่อบอกอารมณ์ • พูดสลับสรรพนาม เสียงเป็น mono tone • สร้างคำใหม่ที่คนอื่นไม่เข้าใจ • เลียนแบบ พูดตามโดยไม่เข้าใจความหมาย

  28. สนใจสิ่งของซ้ำๆ ทำพฤติกรรมซ้ำๆ เล่นโดยขาดจินตนาการ มักดมหรือชิม สิ่งที่ไม่ควร จ้องมองด้วยหางตา ทำร้ายตัวเอง ไม่กลัวเจ็บ ติดของที่ไม่น่าสนใจ ความผิดปกติของการเล่นและจินตนาการ

  29. ตอบสนองต่อสิ่งรอบตัวต่างจากเด็กอื่น ตอบสนองต่อสิ่งรอบตัวต่างจากเด็กอื่น ไม่เข้าใจคำพูดและไม่สนใจการพูด มีความลำบากในการพูด ไม่เข้าใจในสิ่งที่เห็นหรือได้ยิน มีปัญหาในการท่าทางในการสื่อความหมาย สำรวจสิ่งต่างๆโดยใช้ประสาทสัมผัส มีการเคลื่อนไหวซ้ำๆ ทักษะการเคลื่อนไหวไม่ดี พฤติกรรมที่พบร่วม

  30. Asperger's and Emotion Management • commonly experience high levels of anxiety and stress. • 2/3 have a problem with anger management. • Sadness and anxiety are often expressed as anger. • It is important to recognize and manage their emotions.

  31. เด็กปัญญาเลิศ • เป็นเด็กที่มีสติปัญญาสูง มีความเฉลียวฉลาดกว่าเด็กทั่วไป มีพัฒนาการล้ำหน้าเด็กอื่นในวัยเดียวกัน เรียนรู้ได้รวดเร็ว • มักเก่งในด้าน 1.ภาษา 2.ความคิดรวบยอด 3.สังคม 4.ด้านบุคลิกภาพ

  32. การช่วยเหลือเด็กLD, ADHD,Autistism

  33. การช่วยเหลือทางการแพทย์การช่วยเหลือทางการแพทย์ • ช่วยเหลือครอบครัว ให้พ่อแม่เข้าใจโรค • พัฒนาศักยภาพในการเลี้ยงดู เช่น ไม่ให้สิทธิพิเศษเพราะเป็นโรค,ระเบียบวินัย ,ค้นจุดเด่นแก้จุดด้อย • ช่วยให้เด็กเข้าใจตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง • รักษาโรคที่พบร่วม • รักษาสิทธิ • ช่วยเหลือด้านการเรียนและฝึกอ่านหนังสือที่บ้าน

  34. จะสอนเด็กLDอย่างไร • วิธีการสอน - สอนจากสิ่งที่ง่ายที่สุด และจากสิ่งที่คุ้นเคย - การสอนต้องสอนซ้ำ ๆ ช้าๆ หลายครั้ง ต่อเนื่อง - สอนตัวต่อตัว - การสอนให้เห็นภาพและลงมือปฎิบัติดีกว่าพูด - สอนตามขีดความสามารถเด็ก - บรรยากาศสนุก ใช้แรงเสริม

  35. จะสอนเด็กLDอย่างไร 2. เทคนิคการสอน 1). การจำคำ 2). การสะกดคำ - การดู-ปิด-เขียน-ตรวจสอบ - การใช้หลักภาษา หรือจำคำยกเว้น 3). การฟัง-พูด-อ่าน-เขียน

  36. จะสอนเด็กLDอย่างไร 3.ใช้ช่องทางการสอนอื่นๆช่วย - อ่านโจทย์ให้ฟังเวลาสอบ/oral exam - ให้เวลาสอบนานขึ้น - มี buddy ช่วย - หนังสือนิทาน อ่านป้าย แผ่นพับ 4. อนุโลมให้ใช้อุปกรณ์เสริมเพื่อช่วยเด็ก เช่น เครื่องคิดเลข คอมพิวเตอร์ เทปอัดเสียง 5. แจ้งสิทธิการจดทะเบียนพิการ

  37. การแก้ไขความบกพร่องด้านการอ่านการแก้ไขความบกพร่องด้านการอ่าน • ยิ่งเร็วยิ่งดี • สอนกลุ่มเล็ก 3-4 คน • เน้นทักษะการฟังและแยกเสียง phonological awareness • ระยะเวลาต่อเนื่อง 90 นาที ต่อวัน นาน 1-3 ปี • ใช้อุปกรณ์เสริม

  38. กลยุทธ์เพิ่มความทรงจำด้วยการเพิ่มการทำงานของสมองกลยุทธ์เพิ่มความทรงจำด้วยการเพิ่มการทำงานของสมอง • การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่มีความสุข เพิ่มความจำทางอารมณ์ • การสร้างความเกี่ยวข้องของสมองหลายส่วน - mind mapping - open-end questioning - summarizing - role – playing - discussing - Acronym - การลำดับเวลา

  39. พหุปัญญา (Multiple Intelligence) Howard Gardner 1986 ภาษา(linguistic) ร่างกาย-การเคลื่อนไหว ดนตรี (musical) (bodilykinesthetic) ตรรกะ-คณิตศาสตร์เข้าใจตนเอง (intrapersonal) (logico-mathematical) มนุษยสัมพันธ์ มิติ (spatial) (interpersonal)

  40. โรคสมาธิสั้นADHDAttention Deficit HyperactiveDisorder

  41. การรักษา • - การปรับพฤติกรรม + ปรับวิธีการเลี้ยงดู • - การปรับสิ่งแวดล้อมของเด็ก • - การปรับการเรียนการสอน • - การใช้ยา • - การรักษาที่ได้ผลดีที่สุด คือ.........

  42. วิธีเสริมสร้างทักษะการเรียนให้เด็กสมาธิสั้น...เทคนิคสำหรับครู/อาจารย์วิธีเสริมสร้างทักษะการเรียนให้เด็กสมาธิสั้น...เทคนิคสำหรับครู/อาจารย์

  43. ปัญหาของเด็กสมาธิสั้นที่ทำให้เรียนได้ไม่ดีปัญหาของเด็กสมาธิสั้นที่ทำให้เรียนได้ไม่ดี • เหม่อ ใจลอย ไม่สนใจเรียน วอกแวกง่าย • อู้ ยืดยาด เฉื่อย ทำงานช้า ทำงานไม่เสร็จ • หลงลืมง่าย • ขาดการวางแผนล่วงหน้า • ทำงานชุ่ย ทำงานไม่เรียบร้อย สะเพร่า

  44. ปัญหาของเด็กสมาธิสั้นที่ทำให้เรียนได้ไม่ดีปัญหาของเด็กสมาธิสั้นที่ทำให้เรียนได้ไม่ดี • แบ่งเวลาไม่เป็น • ขาดระเบียบ • ไม่อดทน ล้มเลิกง่าย • หลีกเลี่ยงการทำการบ้าน • หลีกเลี่ยงการทบทวน อ่านหนังสือ

  45. วิธีแก้ปัญหาเหม่อ ใจลอย วอกแวกง่าย • จัดที่นั่งให้เหมาะสม ลดสิ่งที่จะทำให้วอกแวก • ตกลงวิธีเตือนกับเด็ก หลีกเลี่ยงการเรียกชื่อบ่อยๆ • สอนให้เร้าใจ สนุก ทำเนื้อหาให้น่าสนใจ น่าติดตาม • สลับให้เด็กได้มีการเคลื่อนไหวบ้าง

  46. วิธีแก้ปัญหาอู้ ยืดยาด เฉื่อย ทำงานช้า ทำงานไม่เสร็จ • กำหนดเวลา • สร้างแรงจูงใจ • เริ่มต้นงานกับเด็ก • ใช้การสัมผัสที่นุ่มนวล • แบ่งงานเป็นส่วนเล็กๆ พักสั้นๆบ่อยๆ • ให้เวลาทำงานนานกว่าเด็กปกติ

  47. วิธีแก้ปัญหาหลงลืมบ่อยวิธีแก้ปัญหาหลงลืมบ่อย • เขียนคำสั่งให้ชัดเจน ทำเป็นเอกสารให้เด็กทบทวน • ให้เด็กทบทวนคำสั่ง หรือเนื้อหาบ่อยๆ • มีวิธีเตือนความจำที่เหมาะสม เช่น ป้าย, post-it, นาฬิกาปลุก • มีตารางกำกับ ฝึกบ่อยๆให้เคยชิน • ฝึกให้เด็กรู้จักการทำ check-list • อนุญาตให้เด็กใช้อุปกรณ์บันทึกเสียง

  48. Asperger's and Emotion Management • To recognize emotions, an emotional thermometer is used. • There are separate thermometers for different emotions • Example: Anger Thermometer, Anxiety (“worry”) Thermometer, Happy Thermometer etc . • Photographs and words are placed at the appropriate point on the thermometer.

  49. Asperger's and Emotion Management

More Related