410 likes | 732 Views
3. การนำเสนอข้อมูล. Graphical Methods for Describing Data. การนำเสนอข้อมูล. การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตาราง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้น การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟรูปภาพ ฮิส โทแกรม (Histogram)
E N D
3 การนำเสนอข้อมูล Graphical Methods for Describing Data
การนำเสนอข้อมูล การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตาราง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้น การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟรูปภาพ ฮิสโทแกรม (Histogram) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon) โค้งความถี่ (Frequency Curves) แผนภาพต้น-ใบ (Stem-and-Leaf Plot หรือ Stem Plot)
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตารางการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นตาราง
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่งการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง http://www.ppdonline.org/images/hq/statistics/stats_95-05_bar.gif
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่งการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟแท่ง http://www.hreoc.gov.au/social_justice/statistics/Stats29Mar00.jpg
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้นการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟเส้น http://www.journaids.org/img/factsheets/statistics/ja_statistics_deathbyage.jpg
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลมการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม http://www.ewea.org/fileadmin/ewea_documents/documents/publications/statistics/global_stats_cumulative_04.gif
การจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลมการจัดนำเสนอข้อมูลเป็นกราฟวงกลม http://www-g.eng.cam.ac.uk/impee/topics/RecyclePlastics/files/Recycling%20Statistics.png
รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon)
แผนภาพต้น-ใบ (Stem-and-Leaf Plot หรือ Stem Plot) ต้น ใบ 5 5 5 7 2 5 6 5 2 6 8 3 2 1 7 2 3 1 9 8 6 5 4 2 9 7 5 9 2 2 1 10 1 0 2
การวิเคราะห์ข้อมูล • การแจกแจงความถี่ (Frequency) • การหาเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละ • การหาสัดส่วน (Proportion) • การหาอัตราส่วน (Ratio) • การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • การหาลักษณะการกระจาย • ของข้อมูล • การประมาณค่า (Estimation) • การทดสอบสมมติฐาน • (Hypothesis Test) • การหาสหสัมพันธ์ (Correlation) • การพยากรณ์ (Forecasting)
การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดค่ากลางของข้อมูล ค่าวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง คือ ค่ากลางที่เป็นตัวแทนของข้อมูล ที่นิยมใช้มีอยู่ 3 ค่า ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐานและฐานนิยม
การวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือค่าของผลรวมของค่าสังเกตของข้อมูลทั้งหมด หารด้วยจำนวนของข้อมูลทั้งหมด เรียกสั้น ๆ ว่าค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเหมาะที่จะนำมาเป็นค่ากลางของข้อมูลเมื่อข้อมูลนั้นไม่มีค่าใดค่าหนึ่งสูงหรือต่ำผิดปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
การวิเคราะห์ข้อมูล มัธยฐาน คือค่าสังเกตที่เกิดซ้ำมากที่สุด หรือมีความถี่สูงสุด ถ้าข้อมูลไม่ซ้ำกันเลยถือว่าไม่มีฐานนิยม ข้อมูลชุดหนึ่งอาจมีฐานนิยมมากกว่าหนึ่งค่าก็ได้ ในกรณีที่ข้อมูลใดมีฐานนิยมมากกว่า 2 ค่า อาจถือได้ว่าข้อมูลชุดนั้นไม่มีฐานนิยมเลยก็ได้
การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่ามัธยฐาน
การวิเคราะห์ข้อมูล ฐานนิยม คือ ค่าที่อยู่แหน่งกึ่งกลางของข้อมูลทั้งชุดเมื่อมีการจัดเรียงคะแนนตามความมากน้อย แบ่งข้อมูลที่เรียงลำดับแล้วออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กันใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณเท่านั้น เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นค่ากลาง เมื่อข้อมูลนั้นมีค่าหนึ่งค่าใดสูงหรือต่ำผิดปกติ
การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาค่าฐานนิยม
การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ ค่าเฉลี่ยใช้กับขอมูลตัวเลข แจกแจงสมมาตร มัธยฐานใช้กับข้อมูลจัดอันดับได้ มีการแจกแจงเบ้ ฐานนิยมใช้กับข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดการกระจายของข้อมูล การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion) เป็นสถิติประเภทหนึ่งที่คำนวณออกมาเป็นตัวเลข เพื่อใช้อธิบายลักษณะการกระจายของข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล พิสัย (Range)เป็นค่าที่ใช้วัดการกระจายของข้อมูล โดยการหาความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดกับค่าต่ำสุดของข้อมูลชุดใดชุดหนึ่ง
การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาพิสัยของคะแนน
การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)เป็นการวัดการกระจายของคะแนนรอบ ๆ ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้ข้อมูลทุกตัวในการคำนวณ
การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการสอบของนักเรียน 10 คนเป็นดังนี้ 15, 20, 15, 9, 18, 14, 12, 15, 7, 6 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
การวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเป็นศูนย์ได้หรือไม่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเป็นลบได้หรือไม่
การแปลความหมายข้อมูล คะแนนสอบของ ด.ช. แท่งเป็นดังนี้
ความคลาดเคลื่อนในการใช้สถิติความคลาดเคลื่อนในการใช้สถิติ
ขั้นตอนทางสถิติ • การเก็บรวบรวมข้อมูล • การนำเสนอข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล • การแปลความหมายข้อมูล
6 6 6 6 6 + 2 6 9 6