380 likes | 814 Views
ทำความรู้จักกับนักศึกษา. เขียน ชื่อ - สกุล , ชื่อเล่น , รหัสนักศึกษา , เบอร์โทร และ เกรด เฉลี่ยล่าสุด, แนะนำตัวเอง - เป็นชาวจังหวัด... - เรียนสาขาวิชา...เพราะ... ความคาดหวังต่อการเรียนวิชานี้ คือ... สิ่งที่อยากเรียนรู้ในวิชานี้ คือ.
E N D
ทำความรู้จักกับนักศึกษาทำความรู้จักกับนักศึกษา • เขียน ชื่อ-สกุล , ชื่อเล่น, รหัสนักศึกษา, เบอร์โทรและเกรดเฉลี่ยล่าสุด, • แนะนำตัวเอง - เป็นชาวจังหวัด... - เรียนสาขาวิชา...เพราะ... • ความคาดหวังต่อการเรียนวิชานี้ คือ... • สิ่งที่อยากเรียนรู้ในวิชานี้ คือ ...
รายวิชา 1001003 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน(Human Behavior and Self Development) จำนวนหน่วยกิต 2 หน่วยกิต ผู้สอน : ณัชชารีย์ กุศลธรรมรัตน์ (อ.โอ๋ค่ะ) หนังสือของ ผศ.อังสุรีย์ พันธ์แก้ว
โทร. 087-3065962natcharee_kpru@hotmail.com สมาชิกเว็บไซต์ krusorndee.net (ค้นหา: ครูณัชชารีย์ กุศลธรรมรัตน์)
หนังสือ : ผศ.อังสุรีย์ พันธ์แก้ว
แนวการสอน คำอธิบายรายวิชา ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และสาเหตุปัจจัยแห่งพฤติกรรม การพัฒนาตนเอง มนุษยสัมพันธ์เพื่อการทำงานร่วมกัน และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แนวคิด พฤติกรรมมนุษย์และการพัฒนาตน มีความจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตของตน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น สังคมและประเทศชาติอย่างมีสันติสุข
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ หลักการพัฒนาตนเอง และการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในการทำงาน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันและทำงานร่วมกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ 1 ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ บทที่ 2 ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม บทที่ 3 องค์ประกอบของพฤติกรรมมนุษย์ บทที่ 4 การศึกษาตนเองและผู้อื่น บทที่ 5 กระบวนการพัฒนาตนเอง บทที่ 6 การบริหารตนเอง บทที่ 7 หลักการของมนุษยสัมพันธ์ บทที่ 8 การติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี บทที่ 9 มนุษยสัมพันธ์กับบุคคลในสังคม บทที่ 10 การทำงานเป็นทีม บทที่ 11 การเป็นผู้นำและผู้ตาม บทที่ 12 แรงจูงใจในการทำงาน บทที่ 13 การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข
การจัดแบ่งคะแนน จัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ คะแนนระหว่างภาคเรียน และคะแนนปลายภาคเรียน ดังนี้ 1. คะแนนระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน (บทที่ 1-6) 1.1 คะแนน MindMapping 10 คะแนน 1.2 คะแนนการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ 10 คะแนน 1.3คะแนนความร่วมมือในชั้นเรียน 10คะแนน 1.4 คะแนนแบบฝึกหัดท้ายบท 10คะแนน 1.5คะแนนทดสอบกลางภาค 20คะแนน 2. คะแนนสอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน(บทที่7-12)
เกณฑ์การประเมินผล ระดับ A คะแนน 80 ขึ้นไป ระดับ B+ คะแนน 75 - 79 ระดับ B คะแนน 70 - 74 ระดับ C+ คะแนน 65 - 69 ระดับ C คะแนน 60 - 64 ระดับ D+ คะแนน 55 - 59 ระดับ D คะแนน 50 - 54 ระดับ E คะแนน ต่ำกว่า 50
เอกสารประกอบการสอน ชัยพร วิชชาวุธ. มูลสารจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525. นิพนธ์ คันธเสวี. มนุษยสัมพันธ์เพื่อการพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียน สโตร์, 2528 พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. มนุษยสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์. 2531 วนิดา เสนีเศษฐ. และชอบอินทร์ประเสริฐกุล. มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2530 วิจิตร อาวะกุล. เทคนิคมมนุษยสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : O.S. Printing House Co., Ltd., มปป. วินิจ เกตุขำ. มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหารยุคใหม่. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียน สโตร์. 2535 สมิต อาชวนิจกุล. การพัฒนาตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัทสารมวลชนจำกัด, 2533. สุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา พฤติกรรมมนุษย์ หน่วยที่ 1 – 8พิมพ์ครั้ง ที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539.
สุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชา พฤติกรรมมนุษย์ หน่วยที่ 9.15. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2539. สุฑาทิพย์ สกุลชีพวัฒนา. จิตวิทยาทั่วไป. บุรีรัมย์ : สถาบันราชภัฎบุรีรัมย์, 2536. หลุย จำปาเทศ. จิตวิทยาสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533. อัมพิกา ไกรฤทธิ์. มนุษยสัมพันธ์ในโรงงาน. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ด ยูเคชั่น จำกัด, 2532.
บทที่ 1ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ 1. องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์ 2. จิตและกระบวนการทำงานของจิต 3. พฤติกรรมของมนุษย์ 4. วิธีการศึกษาพฤติกรรม 5. แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ในการศึกษา พฤติกรรม
องค์ประกอบของความเป็นของมนุษย์ 2.องค์ประกอบของมนุษย์ ตามหลักพระพุทธศาสนา มนุษย์ประกอบด้วยขันธ์ห้า 1. รูป 2. เวทนา 3.สัญญา 4. สังขาร 5. วิญญาณ 1.องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักปรัชญา - แนวคิดทวินิยม (Dualism) - แนวคิดเอกนิยม (Monism)
1. องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักปรัชญา - แนวคิดทวินิยม (Dualism) - แนวคิดเอกนิยม (Monism)
สมัยกรีกโบราณ แม้จะเน้นศึกษาเรื่องจิต ภายในของมนุษย์ แต่ก็ยังเห็นว่ามนุษย์ แบ่งภาคเป็น2 ส่วน คือ กายและจิตตัวอย่าง ผู้ที่อธิบายในเรื่องนี้ได้แก่เพลโต เราเรียกกลุ่มความเชื่อดังกล่าวว่า กลุ่มทวินิยม(Dualism) คำว่า "ทวิ" หมายถึง "2" กลุ่มทวินิยมเห็นว่าจิตมีการทำงานที่แยกจากสมอง
เพลโต นักปรัชญาชาวกรีกโบราณ ที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดตะวันตก
School of Athens เป็นHighlightที่สำคัญที่สุดของ Vatican Museum • ในภาพมี Pythagoras, Socrates, Plato, Aristotle, Euclid และ Ptolemy • Ptolemy เป็นคนแรกๆที่บอกว่าโลกกลม เขียนแผนที่โลกซึ่งถูกใช้มาจนถึงยุคบุกเบิก เขียนแผนที่ดาว หนังสือดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ เป็นคนรวม Greek Mythology เข้ากับหมู่ดาว บอกว่าโลกไม่ใช่ศูนย์กลางของจักรวาล (แม้เขาบอกว่าโลก ดวงอาทืตย์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ โคจรรอบศูนย์กลางของจักรวาล ทฤษฎีของเขาก็ดีที่สุดและเข้าใจง่ายที่สุด เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีสมัยนั้น)
แนวคิดทวินิยม จิต (mind) กับ กาย (body) แยกออกจากกัน ลัทธิปฏิสัมพันธ์ จิตเป็นผู้สั่งการ และกายเป็นผู้รับคำสั่ง ลัทธิคู่ขนาน จิตกับกายต่างก็เป็นอิสระต่อกันและไม่มีอิทธิพลต่อกัน แต่จะมีปรากฏการณ์เกิดขึ้นร่วมกัน ลัทธิผลพลอยได้ จิตไม่ใช่ผู้สั่งกาย แต่กายมีอิทธิพลต่อจิต (จิตเป็นผลจากระบบการทำงาน ของร่างกายโดยเฉพาะสมอง) ปัญหา: หาจุดกระทบไม่พบ
ยุคความเชื่อใหม่ เรียกว่า เอกนิยม (Monism) กลุ่มนี้เชื่อกันว่า กายและจิตเป็นสิ่งเดียวกัน นักปราชญ์ที่เชื่อเช่นนี้ ได้แก่ เจ.ซี.สมาร์ท J.C. Smart) และเฮอร์เบิร์ต ไฟเกิล (Herbert Feigel) 2 ท่านที่กล่าวมาเห็นว่า “ความรู้สึกนึกคิด” เป็นกระบวนการทำงานของเซลล์สมอง
ซึ่งสอดคล้องกับความเชื่อของโธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes , 1588-1679) ที่เห็นว่า “กิจกรรมทางจิตทั้งปวง” ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก การรับรู้ การคิด อารมณ์ เป็นการทำงานของสมองทั้งหมด ซึ่งนับว่าเป็นความคิดที่สมัยใหม่ ซึ่งเมื่อมาถึงปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่ากายและจิตคือสิ่งเดียวกัน และการพัฒนาจิต คือ การพัฒนาพฤติกรรม เพราะจิตเป็นตัวควบคุมการกระทำหรือพฤติกรรมของมนุษย์
องค์ประกอบของความเป็นของมนุษย์ 2.องค์ประกอบของมนุษย์ ตามหลักพระพุทธศาสนา มนุษย์ประกอบด้วยขันธ์ห้า 1. รูป 2. เวทนา 3.สัญญา 4. สังขาร 5. วิญญาณ 1.องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักปรัชญา - แนวคิดทวินิยม (Dualism) - แนวคิดเอกนิยม (Monism)
2. องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา “มนุษย์ประกอบด้วยขันธ์ห้า” 1. รูป 2. เวทนา 3.สัญญา 4. สังขาร 5. วิญญาณ
องค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนาองค์ประกอบของมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา “ขันธ์ห้า” รูป สภาพทางกาย วิญญาณ การรับรู้จากการสัมผัส เวทนา ความรู้สึกต่างๆ สังขาร ความคิด สัญญา การจำ - สุขเวทนา - ทุกขเวทนา - อทุกขมสุขเวทนา
บทที่ 1ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ 1. องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์ 2. จิตและกระบวนการทำงานของจิต 3. พฤติกรรมของมนุษย์ 4. วิธีการศึกษาพฤติกรรม 5. แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ในการศึกษา พฤติกรรม
จิตและกระบวนการทำงานของจิตจิตและกระบวนการทำงานของจิต ระบบประสาท ในสมอง การรับรู้ ความคิด อารมณ์ ปฏิกิริยาโต้ตอบ ประสาทสัมผัส สิ่งเร้า
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางจิตปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางจิต - อวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 - ระบบประสาทต่างๆ - สิ่งเร้า - ประสบการณ์เดิม - ความใส่ใจในการรับรู้ - ความสามารถในการคิดและการรับรู้ ฯลฯ