1 / 7

องค์ประกอบ ๗ ประการของการไกล่เกลี่ย แบบเน้นความต้องการที่แท้จริง

องค์ประกอบ ๗ ประการของการไกล่เกลี่ย แบบเน้นความต้องการที่แท้จริง. (Interest-based Mediation). ๑. อะไร คือ ความต้องการที่แท้จริง ( Interest). ความต้องการที่แท้จริงคือมูลเหตุจูงใจที่อยู่เบื้องหลังจุดยืนหรือข้อเรียกร้องของคู่พิพาท สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการและข้อกังวลของคู่พิพาท

Download Presentation

องค์ประกอบ ๗ ประการของการไกล่เกลี่ย แบบเน้นความต้องการที่แท้จริง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์ประกอบ ๗ ประการของการไกล่เกลี่ยแบบเน้นความต้องการที่แท้จริง (Interest-based Mediation)

  2. ๑. อะไร คือ ความต้องการที่แท้จริง (Interest) • ความต้องการที่แท้จริงคือมูลเหตุจูงใจที่อยู่เบื้องหลังจุดยืนหรือข้อเรียกร้องของคู่พิพาท สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการและข้อกังวลของคู่พิพาท • จุดยืนเป็นเพียงหาทางหนึ่งที่ตอบสนองหรือสร้างความพอใจต่อความต้องการที่แท้จริง

  3. ๒. ข้อเสนอ (Options) • วีธีการแก้ไขปัญหาซึ่งต้องการความร่วมมือของคู่พิพาทโดยตอบสนองความต้องการที่แท้จริง ๓. หลักเกณฑ์อ้างอิง (Criteria) • ใช้หลักเกณฑ์ที่เป็นภาวะวิสัยของบุคคลทั่วไปประเมินข้อเสนอของคู่พิพาท เพื่อให้รู้สึกถึงความเป็นธรรม มีเหตุผล และเป็นที่ยอมรับ

  4. ๔. ทางเลือกอื่น (Alternatives) • ทางเลือกอื่นในกรณีที่ข้อตกลงไม่บรรลุผลได้ โดยทางเลือกดังกล่าวไม่ต้องอาศัยการตกลงยินยอมของคู่พิพาทอีกฝ่าย • ทางเลือกที่ดีที่สุด • ทางเลือกที่แย่ที่สุด • ทางเลือกที่เป็นไปได้ที่สุด

  5. ๕. ความสัมพันธ์ (Relationship) • ๒ องค์ประกอบ : ประเด็นที่เป็นเนื้อหาข้อพิพาท และประเด็นของความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาท • ประเด็นของความสัมพันธ์ระหว่างคู่พิพาทจะมีอยู่ตลอดเวลาที่มีการเจรจาในประเด็นที่เป็นเนื้อหาของข้อพิพาท • แยกคนออกจากปัญหา

  6. ๖. การสื่อสาร (Communication) • สื่อสารสองฝ่าย • รับฟัง เข้าใจ และแสดงให้เห็นว่าเข้าใจ เพื่อให้เกิดความเชื่อใจ

  7. ๗. ข้อผูกพัน (Commitment) • ทำข้อผูกพันเมื่อ • เข้าใจความต้องการที่แท้จริงของคู่พิพาท • ข้อเสนอได้รับการพิจารณา • มีหลักเกณฑ์อ้างอิงประเมินข้อเสนอและเป็นที่ยอมรับ • เปรียบเทียบข้อเสนอกับทางเลือกอื่นแล้ว • ตรวจอำนาจการทำความตกลงของคู่พิพาท • ทำเป็นลายลักษณ์อักษร

More Related