1 / 87

ระบบประกันสุขภาพ

ระบบประกันสุขภาพ. ทพ.ดร. วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 (สงขลา). ระบบสุขภาพ (Health System) หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ มีจุดมุ่งหมายหลัก เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุง พัฒนาสุขภาพของประชาชนเป็นสำคัญ.

brenna
Download Presentation

ระบบประกันสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบประกันสุขภาพ ทพ.ดร. วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 (สงขลา)

  2. ระบบสุขภาพ (Health System)หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ มีจุดมุ่งหมายหลัก เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุง พัฒนาสุขภาพของประชาชนเป็นสำคัญ ข้อควรคำนึงเสมอเมื่อพิจารณาถึงสิ่งที่ระบบสุขภาพจะทำให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของประชาชนมี 2 ประการได้แก่ 1. ระบบจะต้องตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนอย่างมีคุณภาพ 2. ระบบควรตอบสนองต่อประชาชนด้วยความเป็นธรรม ไม่ว่าจะยากดีมีจนอย่างไรก็ตาม

  3. ความสัมพันธ์ระหว่างกลไกและวัตถุประสงค์ของระบบสุขภาพองค์การอนามัยโลก 2000 พรบ.สุขภาพ แห่งชาติ กลไกของระบบ วัตถุประสงค์ ระบบพิทักษ์หรือคุ้มครองปชช. ตอบสนองความต้องการของประชาชน การสร้างและพัฒนาทรัพยากร การให้บริการสุขภาพ สุขภาพ พรบ.หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ สนับสนุนงบประมาณอย่างเสมอภาค กลไกการเงินการคลัง

  4. ประเด็นท้าทาย การเคลื่อนย้ายคน อย่างเสรี การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากร การพัฒนาด้าน เทคโนโลยีกับผลกระทบ ต่อสังคมไทย

  5. ประเด็นท้าทาย การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากร  แนวโน้มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในช่วงเวลาอันสั้น คนวัยทำงาน วัยเด็ก วัยสูงอายุ

  6. ประเด็นท้าทาย การพัฒนา เทคโนโลยีกับผลกระทบ ต่อสังคมไทย DarkSide Bright Side • ผลิตยารักษาโรค/พัฒนาการด้านการแพทย์ • การศึกษาต่อเนื่อง /การเรียนรู้ตลอดชีวิต • ความเสี่ยงด้านสุขภาพ /สิ่งแวดล้อม สูงขึ้น • อาชญากรรมอิเล็กทรอนิกส์ การแพร่กระจายของ สื่อลามก • พฤติกรรมคนไทยเปลี่ยนแปลง สังคมฐานความรู้

  7. เพื่อให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานทุกคน มีการจัดระบบการช่วยเหลือด้านการรักษาพยาบาลที่มีอยู่หลายระบบร่วมกัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในภาพรวม และเกิดระบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น หลักการของพรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  8. สุขภาพหรือสุขภาวะเป็นเรื่องใหญ่ที่บูรณาการอยู่ในการพัฒนามนุษย์และสังคมทั้งหมด เป็นเรื่องที่อยู่เลยพรมแดนของกระทรวงสาธารณสุขออกไปมาก สุขภาพในแนวคิดของพรบ.สุขภาพแห่งชาติใหญ่กว่าแนวคิดทางการแพทย์และทางสาธารณสุขออกไปมาก สุขภาพหรือสุขภาวะของคนไทยจะเกิดได้จริง ต่อเมื่อประเทศสามารถพัฒนาอย่างบูรณาการ พร้อมและสอดคล้องกันทุกด้าน นพ. ประเวศ วะสี

  9. ทิศทางในอนาคตของระบบบริการสุขภาพทิศทางในอนาคตของระบบบริการสุขภาพ • แนวคิดของ World Health Report 2008

  10. รร.แพทย์ หน่วยบริการขั้นสูง รพ.เฉพาะทาง หน่วยบริการประจำ โรงพยาบาล สถานีอนามัย คลินิก, ร้านยา หน่วยบริการพื้นฐาน หน่วยบริการปฐมภูมิ รพ./สอ./รพ.สต. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่(อบต.,เทศบาล) การดูแลสุขภาพตนเอง และชุมชน กองทุนฯ ภาคีเครือข่าย,ชมรม,ภาคประชาชน,สถาบันวิชาการ,วิชาชีพ

  11. ระบบประกันสุขภาพ(Health Insurance System)

  12. หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพหลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ • องค์ประกอบของการประกันสุขภาพ • ประเภทของการประกันสุขภาพ • ระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยและประเทศอื่นๆ

  13. ทำไมต้องมีการจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน?ทำไมต้องมีการจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน? การประกันสุขภาพ (Health Insurance) การเปลี่ยนความไม่แน่นอนของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนมาเป็นความแน่นอนของค่าใช้จ่าย โดยนำความเสี่ยงทางสุขภาพของประชาชนในภาพรวมมารวมกัน (pooling risk ) และมีกลไกในการจัดการกับความเสี่ยงนั้นอย่างเป็นระบบ (sharing risk)

  14. Key functions of health insurance • Access to care • Financial protections of family incomes

  15. ธรรมชาติของสภาวการณ์สุขภาพในสังคมธรรมชาติของสภาวการณ์สุขภาพในสังคม ระดับปัจเจกบุคคล มีความไม่แน่นอน (Uncertainty) • ในการได้รับโรค (contacting diseases) • ในความรุนแรงของการเจ็บป่วย (severity of illness) • ในค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (medical expenditure) กระทบต่อสถานะทางการเงินของครัวเรือน เวลา = รายได้ = รายจ่ายด้านสุขภาพ

  16. ธรรมชาติของสภาวการณ์สุขภาพในสังคมธรรมชาติของสภาวการณ์สุขภาพในสังคม ระดับสังคม • มีความไม่เป็นธรรม (Inequity) • ในการจ่ายเงิน (financial contribution) • ในการเข้าถึงและการใช้บริการ (access & utilization) • ในค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ (expenditure) ค่าใช้จ่ายของบริการ การใช้บริการ รายได้ การจ่ายเงิน

  17. หลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพหลักการพื้นฐานของการประกันสุขภาพ การรวมและเฉลี่ยความเสี่ยงระหว่างบุคคลในสังคม (pooling and sharing risk) เสี่ยงมาก (ป่วย) Pool risk เสี่ยงน้อย (ไม่ป่วย) เงินที่ใช้ เงินที่จ่าย เงินที่ใช้ เงินที่จ่าย

  18. เฉลี่ยความเสี่ยง ( ) ระหว่างรายได้เท่ากัน ต่ำ ต่ำ ความเสี่ยง สูง สูง การจ่ายเงิน การจ่ายเงิน การถ่ายเท การถ่ายเท การใช้บริการ การใช้บริการ ต่ำ ต่ำ รายได้ รายได้ สูง สูง เจือจานรายได้ เจือจานรายได้ ( ) ระหว่างความเสี่ยงเท่ากัน ผลที่ได้จากการประกันสุขภาพ การเจือจานรายได้ระหว่างบุคคล (Inter-personal income subsidy)

  19. ข้อจำกัดของกลไกการบริหารจัดการสุขภาพของประชาชนข้อจำกัดของกลไกการบริหารจัดการสุขภาพของประชาชน • ตามหลักเศรษฐศาสตร์ทั่วไป demand กำหนด supply ทางการแพทย์supply กำหนด demand • Supply ถือเงิน ยิ่งทำให้เกิดการผูกขาดทางการบริหารมากยิ่งขึ้น ขาดการต่อรอง ตรวจสอบจากประชาชน • การไม่มีเพดานงบประมาณมากำกับการบริหาร ยิ่งทำให้การเกิดการควบคุมค่าใช้จ่ายยากขึ้น

  20. จะทำอย่างไรจึงจะทำให้เกิดกลไกการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น • คานอำนาจจาก supply โดยให้ผู้ให้บริการเป็นผู้ให้บริการอย่างสมบูรณ์ (ไม่ถือเงิน) • จัดตั้งกองทุนขึ้นมาบริหารงบประมาณ เจรจาต่อรองกับ supply • มีงบประมาณที่ชัดเจนเพื่อสามารถควบคุมการใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น Provider Purchaser Cost containment

  21. B ผู้ให้บริการ A ประชาชน/ผู้ป่วย รัฐ/องค์กรวิชาชีพ C กองทุน องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ DIRECT PAYMENTS HEALTH SERVICES CLAIMS REGULATION INSURANCE COVERAGE MONEY (TAXES OR PREMIUMS) MONEY PAYMENT (FEES, GLOBAL BUDGET) D REGULATION

  22. กลไกระบบประกันสุขภาพ • การรวบรวมเงินในระบบประกัน (Revenue collection) • การจ่ายเงินในการใช้บริการ (Co-payment or Cost-sharing) • การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to providers)

  23. การรวบรวมเงินในระบบประกัน (Revenue collection) • การได้รับจัดสรรจากภาษี (Taxation) • การจ่ายเบี้ยประกัน (Premiums) • การคิด Premium ตามความเสี่ยงของแต่ละบุคคล (individual risk rating) • การคิด Premium ตามความเสี่ยงแบบกลุ่ม (community risk rating) • การคิด Premium ตามระดับของรายได้ (income-related premium)

  24. การร่วมจ่ายเมื่อใช้บริการ (Co-payment or cost sharing) • จ่ายส่วนต้น ด้วยอัตราคงที่ (nominal fee) • จ่ายส่วนต้นจนถึงขีดกำหนด (deductible) • จ่ายตามสัดส่วน % ของราคา (coinsurance) • จ่ายตามสัดส่วน % ของราคา แบบมีเพดาน • กำหนดสิทธิประโยชน์ที่จะให้สูงสุด (benefit maximum)

  25. การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to provider) • จ่ายย้อนหลังตามบริการ (Retrospective reimbursement) • จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง (Prospective payment) • จ่ายเงินแบบผสม (Mixed payment)

  26. Line Item Budget Global Budget Capitation Case-based i.e. Diagnostic Related Payment Fee-for-service Per diem รูปแบบการจ่ายเงิน

  27. Provider payment mechanisms and provider behaviour Key: +++ very positiveeffect; ++ somepositiveeffect; +/- little or no variable effect; - - some negative effect; - - - very negative effect

  28. ประเภทของการประกันสุขภาพ(แบ่งตามประเภทการได้มาซึ่งงบประมาณ)ประเภทของการประกันสุขภาพ(แบ่งตามประเภทการได้มาซึ่งงบประมาณ) การสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจากระบบภาษี (tax-based health insurance) หรือ Beveridge model การประกันสังคม (compulsory social insurance) หรือ Bismarck model การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (voluntary health insurance) บัญชีเงินออมเพื่อสุขภาพ (medical saving account)

  29. ปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุมปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุม ผู้เอาประกัน • กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก (Adverse selection) กรณี voluntary insurance • จริยธรรมการใช้บริการ(User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น องค์กรประกัน • คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance ผู้ให้บริการ • จริยธรรมการให้บริการ(Provider moral hazard) • การให้บริการเกินความจำเป็น(Over-service) • การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น(Under-service)

  30. ปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุมปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุม • การควบคุม Adverse selection • ใช้การประกันสุขภาพภาคบังคับ • การปรับเบี้ยประกันตามความเสี่ยง (risk adjusted premium) • การควบคุม User Moral Hazard • การให้มีส่วนร่วมจ่าย (co-payment) • การลดแรงจูงใจในการใช้บริการที่ไม่จำเป็น เช่น การรอคอย • กำหนดขอบเขตของสิทธิประโยชน์

  31. ปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุมปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุม • การควบคุม Risk selection • ใช้การประกันสุขภาพภาคบังคับ • การปรับเบี้ยประกันแบบกลุ่ม (community rating premium)

  32. ปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุมปัญหาของการประกันสุขภาพและการควบคุม • การควบคุม Provider Moral Hazard • วิธีจ่ายค่าตอบแทนบุคลากร • การให้เป็นผู้ถืองบประมาณ (fund holder) • กฎระเบียบการจ่ายเงิน (rule for payment) • วิธีการจ่ายค่าตอบแทนสถานบริการ • ระบบตกลงราคาล่วงหน้า (prospective) • ระบบงบประมาณ (global budget, capitation) • การแข่งขัน (competition) • ทบทวนการใช้บริการและการบริหารจัดการการใช้บริการ (utilization and management review)

  33. Thailand: historical development Establishment of prepayment schemes User fees Informal exemption 1945 Expansion of prepayment schemes 1970 1975 LIC 1980 CSMBS 1-3rd NHP 1962-76 Provincial hospitals 1983 CHF 1990 SSS 1980 SSS CSMBS LIC  MWS Universal Coverage 4th -5th NHP (1977-86) District hospitals Health centers 1990 1994 PVHI SSS 2000 2001 Universal Coverage CSMBS Health Infrastructure 2001 Samrit Srithamrongsawat

  34. The challenge of health insurance systems in Thailand • one single system • one standard for all • the system for all (no matter rich or poor) • efficient and effective system (cost-effectiveness) • cost containment

  35. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ • ส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดระบบบริการสุขภาพที่ดีที่ประชาชนมั่นใจและผู้ให้บริการมีความสุข • ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน องค์กรประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีบทบาทในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ • ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนให้เข้าใจสิทธิและหน้าที่ • จัดหาเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เพียงพอและบริหารให้มีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงด้วยความมั่นใจ

  36. หลักการของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหลักการของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • เฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข คนดีช่วยคนป่วย • เอื้ออาทรต่อกัน หมอ + คนไข้ • ร่วมด้วยช่วยกัน การมีส่วนร่วม

  37. ระบบประกันสุขภาพประเทศไทย ก่อนปี 2543 ความครอบคลุม %

  38. CurrenthealthinsurancesystemsinThailand • Universal Health Care Scheme • Fringe Benefit SchemeCivil Servant Medical Benefit Scheme (CSMBS) State Enterprises Medical Benefit Scheme (SEMBS) • Social Security Scheme (SSS)

  39. Civil Servant Medical Benefit Scheme (CSMBS)

  40. Social Security Scheme (SSS)

  41. Universal Health Care Scheme

  42. Benefit Coverage Benefit coverage comparison for 3 Main Health Schemes in Thailand

  43. ระบบประกันสุขภาพปัจจุบันของประเทศไทยระบบประกันสุขภาพปัจจุบันของประเทศไทย ที่มา: ศูนย์บริหารงานทะเบียน สำนักบริหารกองทุน สปสช.

  44. งบที่ สปสช.บริหารเพิ่มขึ้น จากปี 2545=224% หักเงินเดือน 100% หักเงินเดือน 79% หักเงินเดือน 60% ที่มาข้อมูล: สำนักนโยบายและแผน สปสช.

  45. มีงบประมาณสำหรับสุขภาพที่จำกัด จะทำอย่างไรให้ใช้พอ ขณะเดียวกันประชาชนมีสุขภาพดีด้วย • ลดคนไข้ โดยจำกัดปริมาณการบริการ หรือ ลดคนเจ็บป่วย • ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริการลง

  46. 80% 20% 20% 80% สร้างเสริมสุขภาพ สมบูรณ์ ปกติ ป่วย ตาย ป้องกันโรค

  47. แนวคิดการบริหารงบประมาณ ฯ • การสร้างความเป็นธรรมต่อประชาชนและผู้ป่วยที่จะได้รับบริการสุขภาพ • การให้ประชาชนได้รับบริการต่อเนื่อง ครบถ้วนอย่างเป็นระบบ • การเพิ่มประสิทธิผลและประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • การสนับสนุนการจัดบริการที่มีคุณภาพ • การให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของประชาชน • การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารเงินกองทุน

  48. งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ ๒๕๕๕

  49. สรุปงบกองทุนฯ ปี 2554-5 รายการ

More Related