430 likes | 645 Views
บรรยาย. การบริหารบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สุปัทม์ ทองรัตน์. รป.ม.(นโยบายสาธารณะ). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น. รัฐธรรมนูญ พ . ร . บ . บุคคลส่วนท้องถิ่น ประกาศมาตรฐานกลาง ก . ถ .
E N D
บรรยาย • การบริหารบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สุปัทม์ ทองรัตน์ รป.ม.(นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ พ.ร.บ.บุคคลส่วนท้องถิ่น ประกาศมาตรฐานกลาง ก.ถ. ประกาศมาตรฐานทั่วไป ก.กลาง ประกาศหลักเกณฑ์ ก.จังหวัด
การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น • มีกฎหมายและกฎเฉพาะ • มีองค์กรเฉพาะ • มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่า ก.พ. และ ก.คศ. • ความเป็นอิสระ
กฎหมายและกฎในงานบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นกฎหมายและกฎในงานบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น • รัฐธรรมนูญ • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น • มาตรฐานกลาง ของ ก.ถ. • มาตรฐานทั่วไป ของ ก.กลาง • หลักเกณฑ์ ของ ก.จังหวัด • กฎหมายและกฎที่ใช้กับ ก.พ. และ ก.คศ. ที่อนุโลมใช้
กฎบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นกฎบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น • มาตรฐานกลาง ของ ก.ถ. • มาตรฐานทั่วไป ของ ก.กลาง • หลักเกณฑ์ ของ ก.จังหวัด
กฎหลักในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นกฎหลักในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น มาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ของ กถ. มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ 1. คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามเบื้องต้นสำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น 2. อัตราตำแหน่งและมาตรฐานตำแหน่ง 3. อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ของกถ. ของ ก.กลาง
4. หลักเกณฑ์การคัดเลือกการบรรจุแต่งตั้ง การย้าย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดับและการเลื่อนขั้นเงินเดือน 5. โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ วิธีการบริหารและการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น และกิจการอันเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 6. การบริหารงานบุคคลสำหรับพนักงานจ้างของท้องถิ่น 7. วินัย การรักษาวินัย และการดำเนินการทางวินัย 8. สิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์และการร้องทุกข์ 9. การให้ออกจากราชการ
กฎหลักในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นกฎหลักในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ออกเป็นประกาศหลักเกณฑ์ตามมาตรฐานทั่วไปของ ก.กลาง ของ ก.จังหวัด
เรื่องโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของ อบต. และ อบจ. กำหนดในหมวด 11
สัปดาห์ที่ ๔ การคัดเลือกการสอบคัดเลือก • ส่วนที่ 1 การสอบแข่งขัน • ส่วนที่ 2 การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ • ส่วนที่ 3 การสอบคัดเลือก • ส่วนที่ 4 การคัดเลือกเพื่อรับโอน
หมวด 1 คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม • ต้องคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดตมข้อ 6(1)-(14) • ก.จังหวัด อาจยกเว้นได้ ลงมติโดยลับคะแนนต้อง 4 ใน 5 • ยื่นคำขอและรับรองความประพฤติโดยผู้มีเกียรติอันควรเชื่อถือ 2 คน • กรณี ก.จังหวัด ไม่ยกเว้น จะยื่นคำขอได้อีกเมื่อล่วงเลยไปแล้ว 2 ปี
การสรรหาบุคคลเพื่อบรรจุแต่งตั้งตามมาตรฐานทั่วไปเรียกว่า “การคัดเลือก” 3 วิธี 6 วิธี 3 วิธี
ส่วนที่ ๑ การสอบแข่งขัน
ส่วนที่ ๑ การสอบแข่งขัน (ต่อ)
การสอบแข่งขัน ก.สถ. เป็นผู้ดำเนินการสอบภาค ก.,ข,ค. อปท. เป็นผู้ดำเนินการสอบภาค ก.,ข,ค. ประกาศรับสมัครไม่น้อยกว่า 15 วัน ประกาศรับสมัครโดยเปิดเผย ณ สถานที่รับสมัครก่อนวันเริ่มรับสมัครและประกาศทางวิทยุ/หรือทางอื่นที่เหมาะสม คณะกรรมการ ฯ กำหนดวันเวลา สถานที่และระเบียบการสอบ ปิดประกาศก่อนวันสอบ ไม่น้อยกว่า 5 วัน จัด จนท. รับสมัคร ไม่น้อยกว่า 15 วัน อาจขยายได้ไม่น้อยกว่า 15 วัน ประกาศผู้มีสิทธิสอบก่อนวันสอบไม่น้อยกว่า 5 วัน การขึ้นบัญชีให้เรียงลำดับตามคะแนน บัญชีใช้ได้ 2 ปี ถ้ามีการสอบใหม่ บัญชีเก่ายกเลิก เว้นแต่ อปท.สอบใหม่ จะต้องเสนอเหตุผลให้ ก.ท.จ. พิจารณา กรณี อปท. สอบ อปท.อื่น หรือ ส่วนราชการอื่นขอใช้บัญชีไม่ได้ กรณี ก.สถ.สอบ ให้ อปท. ใช้บัญชีได้
ส่วนที่ ๒ การคัดเลือกกรณีมีเหตุพิเศษ • ผู้ที่ได้รับทุกจากรัฐบาล/ ทุนของ อปท. • ผู้ที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ ก.จว. อนุมัติ • ผู้สำเร็จการศึกษาตามคุณวุฒิที่ ก.กลางกำหนด • สอบได้แต่บรรจุไม่ได้เพราะรับราชการทหาร • สอบได้แต่มีเหตุที่ไม่อาจเข้ารับปฏิบัติหน้าที่ได้ • บรรจุผู้มีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญสูง
ส่วนที่ ๓ การสอบคัดเลือก สรรหาตำแหน่งบริหารว่าง (หมวดบรรจุแต่งตั้ง)
ส่วนที่ ๔ การคัดเลือก สรรหาตำแหน่งบริหารว่าง (หมวดบรรจุแต่งตั้ง)
หมวด ๕ การบรรจุและแต่งตั้ง • ผู้บริหารท้องถิ่นสั่งบรรจุ คณะกรรมการฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ อปท. เสนอความเห็นชอบการบรรจุแต่งตั้ง ผู้สอบแข่งขันได้ กรณีพิเศษไม่ต้องสอบแข่งขัน ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ชำนาญการ บรรจุจากผู้ขอกลับเข้ารับราชการ
การสรรหาตำแหน่งบริหารว่าง อบจ. • เมื่อตำแหน่งผู้บริหารว่าง ต้องรายงาน ก. ภายใน ๗ วัน แล้วให้ดำเนินการสรรหาภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่ว่าง • ดำเนินการรับโอนในตำแหน่ง / ระดับเดียวกัน ๖๐ วัน • ประกาศรับสมัครคัดเลือกในตำแหน่ง/ ระดับเดียวกัน • ประกาศสอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงาน/ คัดเลือกสูงขึ้น • ดำเนินการรับโอนพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น • ซึ่งดำรงตำแหน่งบริหารหรือข้าราชการอื่นที่มีลักษณะ • เทียบเคียงได้กับตำแหน่งบริหาร โดยมีหนังสือรับรอง
การสรรหาตำแหน่งบริหารว่าง (เทศบาล อบต.) • รายงาน ก. ภายใน ๗ วัน แล้วให้สรรหาภายใน ๖๐ วัน • รับโอนพนักงานสายงานบริหารในตำแหน่ง /ระดับเดียวกัน • สอบคัดเลือก/ คัดเลือกระดับสูงขึ้น • คัดเลือกรับโอนข้าราชการอื่น / พนักงานส่วนท้องถิ่นอื่น ซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเคียงกัน โดยมี นส.รับรอง และเปิดโอกาสให้พนักงานท้องถิ่นตำแหน่งเดียวกันเข้าคัดเลือกด้วย • ขอใช้บัญชี ก.จังหวัด กลาง เกิน ๖๐ วัน / สรรหาไม่ได้ ๑๕๐ วัน ส่งบัญชีให้บรรจุภายใน ๓๐ วัน
การย้าย ผู้บริหารท้องถิ่นออกคำสั่งย้าย โดยความเห็นชอบของ ก.จังหวัด
หมวด 7 การโอน • การโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น • ผู้สอบแข่งขันได้/ผู้ได้รับคัดเลือกกรณีพิเศษ • ผู้สอบคัดเลือกได้ • ผู้ได้รับการคัดเลือก • ผู้ขอโอน • ก.จังหวัด มีมติให้โอน อปท. ที่รับโอนแจ้งความประสงค์ที่จะรับโอนให้ต้นสังกัด ของผู้ที่จะโอนทราบ ก.จังหวัดพิจารณา • ผู้บริหารท้องถิ่น (ต้นทาง) • ออกคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง • โดยความเห็นชอบของ ก.จังหวัด ต้นทางและปลายทางประสานออกคำสั่งรับโอนและให้พ้นจากตำแหน่งเป็นวันเดียวกัน ปลายทางออกคำสั่งรับโอนโดยความเห็นชอบของต้นสังกัด / ก.จังหวัด
หมวด ๘ การรับโอน อปท.ที่รับโอนแจ้งความประสงค์ที่จะรับโอนให้ต้นสังกัด ของผู้ที่จะโอนทราบ การโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น • ผู้สอบแข่งขันได้/ผู้ได้รับการคัดเลือก • ผู้สอบคัดเลือกได้ • ผู้ได้รับการคัดเลือก • ผู้ขอโอน • ก.จังหวัดมีมติให้โอน ก.จังหวัดพิจารณา • ผู้บริหารท้องถิ่น (ต้นทาง) • ออกคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง • โดยความเห็นชอบของ ก.จังหวัด ต้นทางและปลายทางประสานออกคำสั่งรับโอนและให้พ้นจากตำแหน่งเป็นวันเดียวกัน ปลายทางออกคำสั่งรับโอนโดยความเห็นชอบของต้นสังกัด/ก.จังหวัด
หมวด ๙ เลื่อนระดับ (การคัดเลือก) อปท. ออกคำสั่ง ก จังหวัดให้ความเห็นชอบ อปท. เห็นควรเลื่อนระดับ ผู้ได้รับการคัดเลือก ผู้สอบคัดเลือกได้ ผู้สอบแข่งขันได้
การเลื่อนระดับในระดับควบ (การคัดเลือก) ๑. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่แต่งตั้ง ๒. คัดเลือกโดยการประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติงาน ๓. เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำ และได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำสำหรับตำแหน่งที่จะเลื่อนขึ้น โดยไม่เปลี่ยนสายงาน • ควบขั้นต้น ไม่มีผลก่อนวันที่ผู้บังคับบัญชาขั้นต้นบันทึกความเห็นว่าควรเลื่อนระดับได้ เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง คัดเลือกโดยการประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติงาน ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของเงินเดือน สำหรับตำแหน่งที่จะเลื่อนและแต่งตั้ง ควบขั้นสูง
เลื่อนระดับนอกระดับควบเลื่อนระดับนอกระดับควบ มีคุณวุฒิ คุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งที่ต่ำกว่า ๑ ระดับไม่น้อยกว่า ๒ ปี (ด้านเดียวกัน) มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ มีเงินเดือนถึงระดับ ผ่านการประเมิน • สายงานเริ่มต้น ระดับ ๑,๒ ไม่มีผลก่อนวันผ่านผลงาน มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ มีคุณวุฒิมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ มีเงินเดือนในปีงบประมาณที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่าอัตราเงินเดือน ผ่านการประเมินผลงาน สายงาน เริ่มต้นจากระดับ ๓
อัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบอัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบ
การเลื่อนระดับสูงที่ขึ้น นอกระดับควบ ตำแหน่งสายงานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาชีพเฉพาะ • อปท.ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข • มีคุณสมบัติ มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง • อปท.แต่งตั้งกรรมการ ประเมินบุคคลและผลงาน
เส้นทางความก้าวหน้าสายนักบริหารงานเทศบาลเส้นทางความก้าวหน้าสายนักบริหารงานเทศบาล คัดเลือกเลื่อนระดับสูงขึ้น ปลัด 10 8 ปี สอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงาน 1 ปี 1 ปี ปลัด 9 รองปลัด 9 ผอ.สำนัก 9 2 ปี 2 ปี 4 ปี ปลัด 8 4 ปี 4 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี ผอ.กอง/ ส่วน ระดับ8 6 ปี รองปลัด 8 8 ว/8วช 4 ปี 2 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี ปลัด 7 ผอ.กอง 7 2 ปี 4 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี 4 ปี 4 ปี รองปลัด 7 หน.ฝ่าย 7 7ว/7วช ป.โท 3ปี 4 ปี 2 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี รอง/ปลัด 6 หน.กอง/ฝ่าย 6
เส้นทางความก้าวหน้าสายนักบริหารงาน อบต. คัดเลือกเลื่อนระดับสูงขึ้น ปลัด 8 สอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงาน 4 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี ผอ.กอง 8 6 ปี รองปลัด 8 8 ว/8วช 4 ปี 2 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี ปลัด 7 ผอ.กอง 7 2 ปี 4 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี 4 ปี 4 ปี รองปลัด 7 หน.ส่วน 7 7ว/7วช 4 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี รอง/ปลัด 6 หน.ส่วน 6
การบรรจุแต่งตั้ง ผู้บริหารท้องถิ่นสั่งบรรจุ คณะกรรมการ ฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เสนอขอความเห็นชอบการบรรจุแต่งตั้ง บรรจุจากผู้ขอกลับ เข้ารับราชการ ผู้สอบแข่งขันได้ ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ชำนาญการ กรณีเหตุพิเศษไม่ต้องสอบแข่งขัน
การย้ายไปดำรงตำแหน่งในสายงานเดิมการย้ายไปดำรงตำแหน่งในสายงานเดิม • ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงาน • ตำแหน่งบริหาร • การย้ายไปดำรงตำแหน่งต่างสายงาน • ตำแหน่งผู้ปฏิบัติการ ตำแหน่งบริหาร • สายงานเริ่มต้นระดับเดียวกัน ต้องดำเนินการคัดเลือก • สายงานเริ่มต้นต่างระดับกัน • (ยกเว้นย้ายไปสาย 3) • แต่งตั้งตำแหน่งสายงานผู้มี • ประสบการณ์ (เลื่อนไหล) การย้าย ผู้บริหารท้องถิ่นออกคำสั่งย้าย โดยความเห็นชอบของ ก. จังหวัด การย้ายไปดำรงตำแหน่งในสาย งานที่ต่ำกว่าตำแหน่งสายงานเดิม
การโอน • การโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น • ผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกกรณีพิเศษ • ผู้สอบคัดเลือกได้ • ผู้ได้รับการคัดเลือก • ผู้ขอโอน • ก. จังหวัด มีมติให้โอน อปท. ที่จะรับโอนแจ้งความประสงค์ที่จะรับโอน ให้ต้นสังกัด ของผู้ที่จะโอนทราบ ก. จังหวัดพิจารณา • ผู้บริหารท้องถิ่น (ต้นทาง) • ออกคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง • โดยความเห็นชอบของก.จังหวัด ต้นทางและปลายทางประสาน ออกคำสั่งรับโอนและให้พ้นจาก ตำแหน่งเป็นวันเดียวกัน ปลายทางออกคำสั่งรับโอน โดยความเห็นชอบของต้น สังกัด / ก. จังหวัด
เลื่อนระดับ ก.จังหวัดให้ความเห็นชอบ อปท.ออกคำสั่ง อปท.เห็นควรเลื่อนระดับ ผู้สอบคัดเลือกได้ ผู้สอบแข่งขันได้ ผู้ได้รับการคัดเลือก
การแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันและสอบคัดเลือกได้การแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันและสอบคัดเลือกได้ • เลื่อนผู้มีคุณวุฒิสำหรับระดับ 2, 3,หรือ 4 • เป็นผู้ที่สอบแข่งขันได้ • เลื่อนได้เมื่อถึงลำดับที่สอบแข่งขันได้ • มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง เลื่อนและแต่งตั้งจาก ผู้สอบแข่งขันได้ • เป็นผู้สอบคัดเลือกได้ • เลื่อนได้เมื่อถึงลำดับที่ • ได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำของของตำแหน่ง • มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง เลื่อนและแต่งตั้งจาก ผู้สอบคัดเลือกได้
การสั่งประจำ มีเหตุผลความจำเป็น 11ประการ ก.จังหวัด เห็นชอบ ก.จังหวัด เห็นชอบ กรณีจะต้องกำหนดตำแหน่ง ประจำให้ก.กลางเห็นชอบ 6 เดือน นายกสั่งให้ประจำ ตามระยะเวลาที่กำหนด หมดความจำเป็นหรือครบหนดเวลา สั่งให้ดำรงตำแหน่งเดิมหรือตำแหน่งอื่นในระดับเดียวกัน มีเหตุผลความจำเป็นพิเศษ ขอขยายเวลาได้ ไม่เกิน 1 ปี
คือ การให้ไปช่วยปฏิบัติราชการอื่นภายใน หรือต่างท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่นหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ การสั่งไปช่วยปฏิบัติราชการ นายกมีอำนาจสั่งไปช่วยปฏิบัติราชการ ในท้องถิ่นเดียวกันได้ทุกตำแหน่ง ช่วยภายใน เว้น จำเป็นเพื่อประโยชน์ต่อราชการ และต้อง ห้ามมิให้สั่งไปช่วย ฯ หน่วยงานอื่น 1. ตกลงกันเป็นหนังสือ 2. พนักงาน สมัครใจโดยทำเป็นหนังสือ 3. มีความรู้ ความสามารถในงานที่ถูกสั่งไปช่วยปฏิบัติราชการ 4. ครั้งละไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 2 ครั้ง 5. หากจำเป็น ในกรณีเดียวกันเกิน 2 ครั้ง ให้เสนอ ก.จังหวัด 6. ผู้ที่สังกัดสถานศึกษา ให้กระทำได้เพื่อช่วยปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับ การเรียนการสอนในสถานศึกษาเท่านั้น
คำพูดใด เป็นคำพูดที่ไม่ถูกต้อง พูดไปแล้ว ไม่เกิดประโยชน์ ไม่สมควรพูด คำพูดใด เป็นคำพูดถูกต้อง พูดไปแล้ว ไม่เกิดประโยชน์ ไม่สมควรพูด คำพูดใด เป็นคำพูดที่ถูกต้อง พูดแล้ว เกิดประโยชน์ หากจะพูด ควรดูกาลเทศะด้วย นโปเลียน