300 likes | 824 Views
สลค. เสนอ ครม. หน่วยงานรัฐส่งร่าง กฎหมาย ไปที่ สลค. ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง. ๑. ๒. ครม.พิจารณา เห็นชอบหลักการ. ๓. สคก.ตรวจพิจารณา. ๔. ส่งคณะกรรมการประสาน งานสภาผู้แทนพิจารณา. ๕. สลค.นำขึ้นทูลเกล้าถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย. สลค.นำลงใน ราชกิจจานุเบกษา.
E N D
สลค. เสนอ ครม. หน่วยงานรัฐส่งร่าง กฎหมายไปที่ สลค. ขั้นตอนการเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง ๑ ๒ ครม.พิจารณา เห็นชอบหลักการ ๓ สคก.ตรวจพิจารณา ๔ ส่งคณะกรรมการประสาน งานสภาผู้แทนพิจารณา ๕ สลค.นำขึ้นทูลเกล้าถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย สลค.นำลงใน ราชกิจจานุเบกษา ส่งรัฐสภาพิจารณา (สภาผู้แทน/สภาวุฒิ) ๖ ๗ ๘
นำเสนอร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. ....ฉบับผ่านการตรวจร่างของคณะกรรมการกฤษฎีกา
โครงสร้างของร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. .... • มาตรา ๑ ถึงมาตรา ๕ • หมวด ๑ การบริหารจัดการด้านการประมง • หมวด ๒ เขตการประมง • หมวด ๓ การส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • หมวด ๔ สุขอนามัยของสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ • หมวด ๕ การนำเข้าและส่งออกสัตว์น้ำหรือผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ • หมวด ๖ การประมงนอกน่านน้ำไทย • หมวด ๗ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าธรรมเนียมใบแทนใบอนุญาต • หมวด ๘ การโอนใบอนุญาต
โครงสร้างของร่างพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. .... • หมวด ๙ พนักงานเจ้าหน้าที่ • หมวด ๑๐ มาตรการทางปกครอง • หมวด ๑๑ บทกำหนดโทษ • บทเฉพาะกาล • อัตราค่าอากรใบอนุญาตให้ใช้เครื่องมือทำการประมงตามประเภทเครื่องมือทำการประมง • อัตราค่าธรรมเนียม
แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง/กรม แผนบริหารราชการแผ่นดิน น.พัฒนาการประมงในน่านน้ำไทยฯ น.พัฒนาการประมงนอกน่านน้ำไทย น.พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำของประเทศ น.พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการประมง โครงสร้างการบริหารการประมง ตามร่าง พ.ร.บ. สั่งการ ๒.๒ ๒.๑ กำหนด ครม. ภาครัฐ ๑ มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ กำหนด ๑๐ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ /ให้ออก ค.นโยบายประมงแห่งชาติ (ม.๙,ม.๑๔) ๓ กำหนด ตั้งอนุกรรมการฯ -แนวทางและเป้าหมายในการ พัฒนาการประมงของประเทศ -แนวทางในการบริหาร จัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ -การแก้ไขปัญหาการทำการประมงนอกน่านน้ำไทย -นโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหาในการพัฒนา ประมงนอกน่านน้ำไทย ๙ กำกับดูแล/ให้คำปรึกษา มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ ค.ประมงนอกน่านน้ำ ไทย(ม.๕๑,๕๒) เสนอแนะ ๔ อธิบดีฯ ๘ รัฐมนตรีฯ ๗ เสนอแนะในการออกระเบียบ ๖ เสนอแนะในการออกกฎกระทรวงฯ ตั้งอนุกรรมการฯ ๕ มอบหมายเรื่องให้ดำเนินการ / แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ -ให้ออก
เขตประมงน้ำจืด (ม.๓๒) เขตการประมง เขตประมงทะเลชายฝั่ง (ม.๓๐) เขตประมงทะเลนอกชายฝั่ง (ม๓๑)
เส้นน้ำเงินหมายเลข ๑ คือ เส้นเขตเศรษฐกิจจำเพาะ เส้นชมพูหมายเลข ๓ คือ เส้น ๓ไมล์ทะเล
๒ ผวจ.+รมต.เห็นชอบ กำหนดห้ามใช้เครื่องมือประมงฯ ม.๖(๑) มาตรการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ เขตประมงน้ำจืด กำหนดห้ามวิธีการใช้เครื่องมือประมงฯ ม.๖(๒) กำหนดสัตว์น้ำที่ห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๓) เขตประมงทะเล ชายฝั่ง กำหนดที่จับสัตว์น้ำที่ห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๔) เขตประมงทะเล นอกชายฝั่ง กำหนดระยะเวลาห้ามทำการประมงฯ ม.๖(๕) กำหนดให้ทำเครื่องหมายที่เครื่องมือประมงฯม.๖(๖) ๑ รมต.
การใช้เครื่องมือประมงทำการประมงการใช้เครื่องมือประมงทำการประมง การทำการประมงในเขตการประมง จ่ายเงินอากร ขออนุญาต ๓ เขตประมงน้ำจืด เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๓๓ กำหนดให้ต้องได้รับใบอนุญาต ๑ เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร เขตประมงทะเลชายฝั่ง ๕ ๒ เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๓๓ กำหนดให้ต้องได้รับใบอนุญาต เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร ๖ ๔ เขตประมงทะเลนอกชายฝั่ง เครื่องมือประมง ทุกชนิดต้องได้รับ ใบอนุญาต (ม.๓๔) เฉพาะเครื่องมือประมง ที่กฎกระทรวงตาม ม.๕ กำหนดให้ต้องจ่ายเงินอากร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง
ก. ทะเลหลวง การใช้เรือประมงไทยออกไปทำการประมงนอกน่านน้ำ เฉพาะบริเวณที่ไทยเป็นภาคีบริหารจัดการทรัพยากร สัตว์น้ำ เช่น IOTC กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต โดยกฎกระทรวง ผู้ใช้เรือฯ ต้องขออนุญาต และเสียค่าธรรมเนียม (ม.๕๖)
๒ น่านน้ำรัฐต่างชาติ ข. เจ้าของเรือที่ละเมิดน่านน้ำ ของรัฐอื่นต้องรับผิดชอบ ม.๕๗ การใช้เรือประมงไทยออกไปทำการประมงนอกน่านน้ำ กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาตในกฎกระทรวง/ ในใบอนุญาต ผู้ใช้เรือฯต้องขออนุญาต/เสียค่าธรรมเนียม (ม.๕๕) ผู้ทำข้อตกลงต้องแจ้งการได้สิทธิ (ม.๕๔) ๑ ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนด
มาตรการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ำมาตรการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ำ ม.๑๘ ห้ามเกี่ยวกับกรณี จะเป็นอันตรายแก่สัตว์น้ำ ม.๓๖ กำหนดที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำ ม.๑๙ ห้ามใช้ไฟฟ้า/ระเบิด สัตว์น้ำ ม.๒๘ ห้ามครอบครองเครื่องมือประมง ที่มีผลทำลายพันธุ์สัตว์น้ำอย่างร้ายแรงฯ ม.๒๐ ห้ามมีไว้ในครอบครอง ซึ่งสัตว์น้ำที่ได้จากม.๑๘ ม.๑๙ ม.๒๗ ห้ามปล่อยสัตว์น้ำฯ ม.๒๑ห้ามปลูกสร้างฯ ปลูกบัวฯ พันธุ์ไม้น้ำฯ ม.๒๕ ห้ามครอบครองสัตว์น้ำฯ ม.๒๒ ห้ามวิดน้ำ/ทำน้ำลด-แห้งฯ ม.๒๔ ห้ามกั้นทางเดินสัตว์น้ำฯ ม.๒๓ ห้ามแก้ไขเปลี่ยนแปลง ที่จับสัตว์น้ำฯ
๑ ๒ ภาครัฐ การส่งเสริม การควบคุม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ๓ กำหนดบริเวณที่จับสัตว์ น้ำ ที่ต้องขออนุญาต เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ(ม.๔๒) กำหนดกิจการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำที่ต้องควบคุม(ม.๔๐) การบริการ กำหนดมาตรฐานส่งเสริม (ม.๓๘) ออกข้อกำหนดเพื่อควบคุม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (ม.๔๑ (๑)-(๗)) การตรวจรับรองเกี่ยวกับ การเพาะเลี้ยง (เรียกเก็บ ค่าใช้จ่ายตาม ม.๓๙) ออกหนังสือรับรองการได้ มาตรฐาน (ม.๓๘ ว ๒) กำหนดให้ต้องมี MD (ม.๔๓) ๒.๓ ๒.๑ ๒.๒ ผู้ประกอบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
๒ ๑ การส่งเสริม การควบคุม ภาครัฐ สุขอนามัยสัตว์น้ำ / ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ๓ ป้องกัน กำหนดมาตรฐานส่งเสริมให้ สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์ฯ มีคุณภาพได้ มาตรฐานด้านสุขอนามัย (ม.๔๔) การดูแลรักษาสัตว์น้ำหลังการจับ ห้ามทำการประมง กรณีที่จับสัตวน้ำ เกิดสภาวะมลพิษ, มีการปนเปื้อนของ สารพิษหรือสิ่งที่อาจ เป็นอันตรายต่อคน/ สัตว์น้ำ (ม.๔๗) กำหนดกิจการที่ควบคุมการดูแล รักษาสัตว์น้ำหลังการจับ (ม.๔๕) ออกหนังสือรับรองการได้ มาตรฐาน (ม.๔๔ ว ๒) ออกข้อกำหนดเพื่อให้ผู้ประกอบ กิจการที่ควบคุมต้องถือปฏิบัติ (ม.๔๖(๑)-(๔))
ภาครัฐ ควบคุม การนำเข้าและส่งออกสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ บริการ ๒ ๑ ข้อห้าม ตรวจรับรอง สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำ เพื่อการ ส่งออกหรือการ อื่นโดยเรียกเก็บค่า ใช้จ่าย (ม.๔๙) ออกกฎกระทรวงกำหนด สัตวน้ำ/ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ที่ต้องถูกควบคุม (ม.๔๘) สัตว์น้ำ/ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำที่ได้จาก (๑) ฝ่าฝืนกฎหมายของรัฐต่างชาติฯ (๒) ฝ่าฝืนพันธกรณี/ข้อตกลงฯ การนำเข้า-ส่งออก สัตว์น้ำผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำต้อง ได้รับใบอนุญาต (ม.๔๘) ๓ ห้ามนำเข้า (ม.๕๐) นำมาโดยใช้เรือประมง
รัฐมนตรี พนักงานเจ้าหน้าที่ อธิบดี ผู้มีหน้าที่ควบคุมให้การเป็นไปตามกฎหมาย ๑ ๓ ๒ การปฏิบัติงานนอกเวลา/ นอกสถานที่ราชการ (ม.๖๑) พิจารณาอุทธรณ์ คำสั่ง - พักใช้/เพิกถอน ใบอนุญาต - ระงับ/เพิกถอน การอนุญาต(ม.๖๗) สั่งพักใบอนุญาต ม.๖๕ อำนาจในการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย (ม.๖๒) เพิกถอนใบอนุญาต ม.๖๖ บัตรประจำตัว ม.๖๓ เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ (ม.๖๔) การรื้อถอนตาม ม.๖๘-ม.๗๐
โทษ ตาม ม.๗๑,๗๒,๗๔,๗๕,๗๖,๗๗,๗๘,๘๐,๘๒,๘๓ ๑ จำคุกหรือปรับ ความผิดที่มีทั้งโทษจำคุกหรือปรับ แต่กฎหมายกำหนดให้เปรียบเทียบ ปรับได้ ตาม ม.๘๕ ๓ ปรับ ๒ ตาม.๗๓,๗๙,๘๑
บทเฉพาะกาล กำหนดให้พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งที่ออกตาม พ.ร.บ.๒๔๙๐ มีผลใช้บังคับต่อไปเท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายใหม่ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ประกาศหรือ ระเบียบ ตามกฎหมายใหม่ออกใช้บังคับ ส่วนที่รักษาพืชพันธุ์ให้ถือว่าเป็นที่รักษาพันธุ์สัตว์น้ำตาม กฎหมายใหม่ (ม.๘๖ ว.๒) อาชญาบัตร/การอนุญาต/ใบอนุญาต ให้มีผลต่อไปจนสิ้นอายุ หรือถูกเพิกถอน (ม.๘๗)
บัญชีอากรและค่าธรรมเนียมบัญชีอากรและค่าธรรมเนียม กำหนดเป็นบัญชีอัตราขั้นสูงให้สอดคล้องระหว่าง เครื่องมือกับการใช้ทรัพยากรประมง โดยใช้กลไก ตาม ม.๕ กำหนดอัตราการจัดเก็บ เงินอากร (ค่าใช้ทรัพยากร) เงิน ค่าธรรมเนียม กำหนดเป็นบัญชีอัตราขั้นสูงตามประเภทใบอนุญาต โดยใช้กลไกตาม ม.๕ กำหนดอัตราการจัดเก็บ (ค่าป่วยการ)