630 likes | 863 Views
แข่งขันอย่างไรให้อยู่รอดในสนาม AEC. นางสาวสุดา เขมาทานต์ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 5 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี. เนื้อหาการนำเสนอ. ทำความรู้จักอาเซียน. CAMBODIA. ASEAN ( A ssociation of S outh E ast A sian N ations).
E N D
แข่งขันอย่างไรให้อยู่รอดในสนาม AEC นางสาวสุดา เขมาทานต์ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 5 มิถุนายน 2556 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
CAMBODIA ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 4
ไทยอยู่ตรงไหน?? ในอาเซียน
เทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆเทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ
ไทยมีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน
ไทยเป็นประเทศที่ต่างชาติเข้ามาลงทุนอันดับ 4 ประเทศที่เข้ามาลงทุนในอาเซียนมากที่สุด ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่นสหรัฐฯ และจีน ฮ่องกง สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียนเพิ่มขึ้น Source: ASEAN Secretariat Database
ความสัมพันธ์การค้าการลงทุนความสัมพันธ์การค้าการลงทุน ระหว่างไทยกับอาเซียน การค้าไทย-อาเซียน FDIจากอาเซียนเข้าไทย ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ต่างชาติมองไทยมีความสามารถในการแข่งขัน และมีความง่ายในการประกอบธุรกิจ Global Competitiveness Index2011-2012 ; ปัจจัยพื้นฐาน (สถาบัน โครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจ สุขภาพ/การศึกษา) ปัจจัยเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงาน (ตลาดสินค้า ตลาดแรงงาน ตลาดเงิน เทคโนโลยี ขนาดตลาด) และปัจจัยด้านนวัตกรรมและความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ • ไทยมีความสามารถในการแข่งขันเป็นอันดับ 39ในโลก (142ประเทศ) โดยมี 5 อันดับแรก ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์ สิงคโปร์ สวีเดน ฟินแลนด์ สหรัฐฯ และไทยมีความสามารถในการแข่งขันเป็นอันดับ 4ในอาเซียน รองจากสิงคโปร์ (อันดับ 2ของโลก) มาเลเซีย (อันดับ 21 ของโลก) บรูไน (อันดับ 28ของโลก) Doing Business Report 2012; กฎระเบียบที่มีผลต่อการประกอบการของเอกชน 10 ด้าน ได้แก่ การจัดตั้งธุรกิจ การได้รับสินเชื่อ การชำระภาษี การแก้ปัญหาล้มละลาย การจดทะเบียนทรัพย์สิน การค้าข้ามแดน การขออนุญาตก่อสร้าง การคุ้มครองนักลงทุน การบังคับให้เป็นตามข้อตกลง การขอรับบริการไฟฟ้า • ไทยถูกจัดให้เป็นประเทศที่มีความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจอันดับ 17ในโลก (183ประเทศ) โดยมี 5 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ ฮ่องกง นิวซีแลนด์ สหรัฐฯ เดนมาร์ก และ ไทยมีความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจเป็นอันดับ 2ในอาเซียน รองจากสิงคโปร์ ตามมาด้วย มาเลเซีย บรูไน เวียดนาม
ทั่วโลกมองไทย มีศักยภาพไม่ด้อยกว่าประเทศอื่น ทั้งในและนอกอาเซียน Challenges ไทยจะสามารถรักษาระดับของศักยภาพที่มีอยู่หรือยกระดับในระยะยาวให้ดีขึ้นได้หรือไม่ อย่างไร
ไทยมีความสามารถในการแข่งขันเป็นอันดับ4ในอาเซียน รองจากสิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน ไทยมีคะแนนมากกว่า บรูไน แต่น้อยกว่าอินโดนีเซีย ไทยมีคะแนนมากกว่า บรูไน Institution, Infrastructure, Macroeconomic environment, Health and primary education Higher education and training, goods market efficiency, labor market efficiency, financial market development, technological readiness, market size
อาเซียน คือ โอกาส ของไทย • ผู้ประกอบการไทยสามารถขยายตลาดการค้าสินค้าและบริการไปยังตลาดอาเซียนซึ่งมีประชากรกว่า 590 ล้านคน โดยเฉพาะสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ สำหรับสินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา ผักและผลไม้สด รวมไปถึงสินค้าเกษตรแปรรูป เช่น อาหารสำเร็จรูป ธุรกิจบริการ เช่น การท่องเที่ยว และบริการที่เกี่ยวเนื่อง (เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ภัตตาคาร) บริการสุขภาพ (สปา นวดแผนโบราณ) • ผู้ประกอบการไทยมีโอกาสขยายการลงทุน/ร่วมทุนในสาขาที่ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความได้เปรียบในการแข่งขัน รวมถึงการเข้าถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ เช่น วัตถุดิบ แรงงาน และเงินทุน • ผู้ประกอบการผลิตของไทยสามารถนำเข้าวัตถุดิบ/สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากประเทศสมาชิกอาเซียนโดยไม่มีกำแพงภาษี และยังสามารถใช้ประโยชน์จากระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ในอาเซียนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ • ผู้ประกอบไทยสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก จากการใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน / เป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับประเทศอาเซียนอื่น
อาเซียนสร้าง ความท้าทายให้กับไทย • สินค้าของประเทศอาเซียนอื่นอาจเข้ามาในตลาดในประเทศไทยมากขึ้น ในราคาที่ต่ำกว่า และ/หรือ คุณภาพดีกว่า สำหรับสินค้าอุตสาหกรรม เช่น ปิโตรเลียม (จากมาเลเซียและพม่า) เคมีภัณฑ์ ยาง และพลาสติก (จากมาเลเซีย) ส่วนสินค้าเกษตร เช่น ข้าว (จากเวียดนาม) น้ำมันปาล์ม (จากมาเลเซีย) กาแฟ (จากเวียดนามและอินโดนีเซีย) ชา (จากอินโดนีเซีย) และมะพร้าว (จากฟิลิปปินส์) เป็นต้น • ธุรกิจบริการของประเทศอาเซียนอื่นที่มีความได้เปรียบในการแข่งขันในด้านต่างๆ เช่น เทคโนโลยี การบริหารจัดการ และเงินลงทุนอาจเข้ามาตั้งธุรกิจแข่งขันในไทยเพิ่มขึ้นเช่น โรงพยาบาล โทรคมนาคม และโลจิสติกส์ (จากสิงคโปร์และมาเลเซีย) เป็นต้น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คืออะไร
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
4เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE 18
เป้าหมายที่1>> เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์ (ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน - เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification
- • 1.2 ผู้ประกอบการอาเซียนถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาได้
1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก ACIA vs สิทธิประโยชน์ภายใต้ BOI FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ การผลิต เหมืองแร่
1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น ข้อตกลงยอมรับร่วม MRAs นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ ท่องเที่ยว วิศวกรรม นักสำรวจ นักบัญชี สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ
1.5 อาเซียนจะมีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ หลักการเปิดเสรีบริการด้านการเงินของไทย • สาขาที่ไทยมีความแข็งแกร่งและพร้อมที่จะแข่งขันกับธุรกิจต่างประเทศ • สาขาที่ไทยต้องการเงินทุนและเทคโนโลยีจากต่างชาติ • สาขาที่ไทยต้องการพัฒนาเพื่อลดต้นทุนของเงินทุนประกอบการ • ของภาคธุรกิจ • ความพร้อมและการสนับสนุน • ภาคธุรกิจไทย ความพร้อมด้านระบบ กฎหมายพื้นฐาน และการกำกับดูแล • มีกฎหมายและนโยบายที่ใช้ในการกำกับดูแล • มีหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้กำกับดูแล เพื่อรักษาประโยชน์ • ของประชาชนผู้บริโภคและเพื่อรักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน ที่มา www.fto.go.th
1.6 อาเซียนเสริมสร้างความร่วมมือรองรับการเปิดเสรีในอนาคต อาหาร • สร้างความมั่นคงทางอาหาร • เป็นมาตรฐานเดียวกัน เกษตร • พัฒนามาตรฐานการผลิต • กำหนดเกณฑ์รับรองสินค้าปศุสัตว์ ป่าไม้ • สร้างเสริมศักยภาพของบุคลากร • สร้างความเข้มแข็งของการบังคับใช้กฎหมาย
เป้าหมายที่ 2 >> ขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนเพิ่มสูงขึ้น • นโยบายการแข่งขันมีนโยบายและกฎหมายการแข่งขัน • การคุ้มครองผู้บริโภคพัฒนามาตรการด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในการปฏิบัติ/ตรวจสอบกลไกภายในภูมิภาค • สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาบังคับใช้แผนปฏิบัติการสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและแผนงานด้านลิขสิทธิ์ จัดตั้งระบบการจัดเก็บเอกสารสำหรับการออกแบบ • โครงสร้างพื้นฐานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งและอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า จัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน (ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน) • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)จัดทำแผนแม่บทด้าน ICT กำหนดมาตรการเพื่ออำนวยความสะดวกด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบความตกลง e-ASEAN
เป้าหมายที่ 3>> อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน • จัดตั้งศูนย์บริการ SMEs เพื่อเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคและอนุภูมิภาค • ให้บริการทางการเงินสำหรับธุรกิจ SMEs ในแต่ละประเทศ • จัดทำโครงการส่งเสริมการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อพัฒนาความเชี่ยวชาญ • จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนา SMEs ในระดับภูมิภาค • SMEs • จัดทำความคิดริเริ่มในการรวมกลุ่มอาเซียน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน • จัดตั้งเวทีความร่วมมือเพื่อการพัฒนา เปิดโอกาสให้ประเทศอื่นเข้ามามีส่วนร่วมในการหารือ IAI • สนับสนุนการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ-เอกชน เพื่อปรับปรุงความสอดคล้องกัน/ความโปร่งใส เสริมสร้างแรงผลักดันของนโยบายรัฐบาลและกิจกรรมทางธุรกิจระหว่างอุตสาหกรรมสาขาต่างๆ PPE
AIFTA ACFTA จีน AJCEP AANZFTA AKFTA • เป้าหมายที่ 4>>อาเซียนจะรวมอยู่ในเศรษฐกิจโลก 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาปัจจุบัน อินเดีย AEC นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย เกาหลี
FTA อาเซียน – คู่เจรจาอนาคต 2556 - 2558 ข้อตกลงการค้าเสรีที่ใหญ่ที่สุดในโลก! อาเซียน – จีน FTA อาเซียน – เกาหลีFTA อาเซียน – ญี่ปุ่น FTA RCEP AEC อาเซียน – อินเดีย FTA อาเซียน – นิวซีแลนด์ - ออสเตรเลีย FTA 29
การเตรียมพร้อมของไทย ยุทธศาสตร์ประเทศและยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาเซียน ปี 2558 เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ การเสริมสร้างความมั่นคง การเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การค้า บริการ การลงทุน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโลจิสติกส์ โครงสร้างพื้นฐาน ผลิตภาพ วิจัย และพัฒนา การพัฒนากฏหมาย กฏระเบียบ คน คุณภาพชีวิต ความรู้ ยุติธรรม ปรับปรุงประสิทธิภาพแผนบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเพิ่มศักยภาพของเมือง เชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน ลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ พัฒนาเศรษฐกิจควบคู่กับสิ่งแวดล้อม กฏระเบียบ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการคุ้มครองทางสังคม การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึง ประชาคมอาเซียน
มาตรการเร่งด่วนด้านเศรษฐกิจของไทย ตามพันธกรณีที่ต้องดำเนินการเพื่อการเข้าสู่ AEC 2015 การปรับแก้ไขกฎหมาย/ กฎระเบียบภายในให้สอดคล้องกับพันธกรณี
ความสำคัญของภาคบริการความสำคัญของภาคบริการ
ความสำคัญของภาคบริการ : สัดส่วนต่อ GDP แหล่งที่มา: Economist Intelligence Unite, 2011
สรุปแนวโน้มที่สำคัญของโลกและนัยต่อภาคบริการสรุปแนวโน้มที่สำคัญของโลกและนัยต่อภาคบริการ • ชนชั้นกลางเพิ่มขึ้นมาก มีความต้องการสินค้าอาหารโปรตีน สินค้าคงทน สินค้าด้านพลังงาน มากขึ้น อุปสงค์ต่อการค้าบริการต่างๆ สูงขึ้น • ผู้บริโภคเพิ่มความใส่ใจด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (well-being) • อุปสงค์ของสินค้าแบบ Customizable Products เพิ่มขึ้น (ทั้งในเชิงเหมาะกับลูกค้า หรือเหมาะกับภูมิภาคนั้นๆ) • อุปสงค์ของสินค้าที่ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อม (Green Product & Services) และใส่ใจกับสังคม (Social Responsibility) มากขึ้น • การพัฒนาเทคโนโลยี ICT, Technology Convergence การเพิ่มความสำคัญของ Social Network • มูลค่าการค้าภายในภูมิภาคเอเชีย มีแนวโน้มสูงขึ้น • บริการสุขภาพ • บริการสิ่งแวดล้อม • บริการผู้สูงอายุ • บริการท่องเที่ยว • บริการ MICE • บริการประกันภัย • บริการการเงิน • บริการ ICT • บริการวิชาชีพ • บริการด้านบันเทิง • บริการกระจายสินค้า
AEC กับ การเปิดเสรีการค้าบริการ
คณะกรรมการประสานงาน ด้านบริการ (CCS) กรอบความ ตกลงการค้าบริการอาเซียน (AFAS) ข้อตกลงการยอมรับร่วมด้านวิชาชีพ (MRAs) การเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการภายใต้กรอบอาเซียน ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS)
รูปแบบการเจรจาการค้าบริการรูปแบบการเจรจาการค้าบริการ Mode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน Mode 2 การเดินทางไปใช้บริการในต่างประเทศ
รูปแบบการเจรจาการค้าบริการรูปแบบการเจรจาการค้าบริการ Mode 3การไปลงทุนและจัดตั้งธุรกิจบริการ Mode 4การไปทำงานในภาคบริการ ในต่างประเทศ
การเปิดเสรีการค้าบริการ คือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการ ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access • ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมีการใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติแตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น - กฎหมายที่ดิน - ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี • สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน • ทุนขั้นต่ำในการนำเงินเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ Mode 1 Cross Border Supply Mode 2 Consumption Abroad National treatment Mode 3 Commercial Presence Mode 4 Movement of Natural Persons
สาขาบริการ (จำแนกตามWTO) ภาคที่ไม่ใช่บริการ การเกษตร การประมง การทำป่าไม้ การทำเหมืองแร่ การผลิต (อุตสาหกรรม) • บริการธุรกิจ/วิชาชีพ • บริการสื่อสารโทรคมนาคม • บริการก่อสร้างและวิศวกรรมเกี่ยวเนื่อง • บริการจัดจำหน่าย • บริการการศึกษา • บริการสิ่งแวดล้อม • บริการการเงิน • บริการสุขภาพและบริการทางสังคม • บริการด้านการท่องเที่ยว • บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และกีฬา • บริการด้านการขนส่ง • บริการอื่นๆ การบริการในแต่ละสาขามีความเกี่ยวเนื่องกันหมด และมีส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้องกับตัวสินค้าด้วย
บริการด้านการขนส่ง Maritime Transport Services Internal Waterways Transport Air Transport Services Space Transport Rail Transport Services Road Transport Services Pipeline Transport Services auxiliary to all modes of transport • Cargo-handling services • Storage and warehouse services • Freight transport agency services • Other Other Transport Services
การเปิดเสรีธุรกิจบริการใน AEC: บริการขนส่งและโลจิสติกส์ 43
พลวัตรของธุรกิจขนส่ง / โลจิสติกส์ 44
Thailand’s Logistics Cluster ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ธุรกิจทีเกี่ยวกับสินค้า กิจกรรมหลัก ซ่อมบำรุงอุปกรณ์ขนส่ง ผู้ผลิตอุปกรณ์ขนส่ง ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ • อู่รถ อู่ต่อและซ่อมเรือ อู่ซ่อมเครื่องบิน • รถยนต์ รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือ เครื่องบิน อุปกรณ์ยกขนสินค้า และชิ้นส่วนต่างๆ • รถบรรทุก รถโดยสาร รถไฟ เรือสินค้า เรือโดยสาร เฟอร์รี่ เรือสำราญ สายการบิน บริการจัดส่งเอกสารและพัสดุภัณฑ์ด่วน ตัวแทนเรือ ขนส่งทางท่อ บริการกระจายสินค้า บริการจัดระบบลอจิสติกส์ บรรจุภัณฑ์ • บริการบรรจุภัณฑ์ บริการตู้คอนเทนเนอร์ คัดแยกและตรวจสินค้า บริการรหัสสากล ผู้จำหน่ายอุปกรณ์ขนส่ง • ผู้จำหน่ายรถยนต์และชิ้นส่วน ผู้ให้เช่ายานพาหนะ ผู้ให้เช่าอุปกรณ์ยกขนสินค้า บริการติดตั้งอุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ • E-Commerce, Logistics Software, EDI, Computer Reservation System, ผู้ให้บริการระบบข้อมูล ผู้ให้บริการขนถ่ายสินค้าและผู้โดยสาร ธุรกิจสนับสนุน • สถานีขนส่งผู้โดยสาร สถานีขนส่งสินค้า สถานีรถไฟ ท่าเรือ สถานีตู้สินค้า สนามบิน คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า ห้องเย็น บริการขนถ่ายสินค้า ตัวกลางรวบรวมสินค้าและผู้โดยสาร อื่น ๆ • ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ผู้ประกอบ การนำเที่ยว จำหน่ายตั๋วโดยสาร • บริหารสินค้าคงคลัง จัดซื้อ บริการลูกค้า ที่ปรึกษา ชิ้ปปิ้ง ประกันภัยขนส่ง ธนาคาร ตรวจสอบยานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง จัดหาคนประจำเรือ บริการอาหารและเก็บขยะจากยานพาหนะ ฯลฯ อื่น ๆ • สร้างและพัฒนาเส้นทางขนส่ง จัดระบบจราจรและความปลอดภัยการขนส่ง พลังงาน สถาบันสนับสนุนเครือข่ายวิสาหกิจโลจิสติกส์ สถาบันและสมาคม ผู้ประกอบการต่าง ๆ สถาบันการศึกษา และฝึกอบรม • หน่วยงานรัฐ • คมนาคม, พาณิชย์, อุตสาหกรรม, คลัง, ศึกษาธิการ, พลังงาน, เทคโนโลยีฯ, มหาดไทย, ต่างประเทศ, สภาพัฒน์, สำนักงานตำรวจฯ
กิจกรรมบริการโลจิสติกส์ 11 กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้า ภายใต้กรอบ AEC • บริการยกขนสินค้าที่ขนส่งทางทะเล (Maritime Cargo Handling Services) • บริการโกดังและคลังสินค้า (Storage & Warehousing Services) • บริการตัวแทนรับจัดการขนส่งสินค้า (Freight Transport Agency Services) • บริการเสริมอื่น ๆ Other Auxiliary Services • บริการจัดส่งพัสดุ (Courier Services) • บริการด้านการบรรจุภัณฑ์ (Packaging Services) • บริการรับจัดการพิธีการศุลกากร (Customs Clearance Services) • บริการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ • (International Maritime Freight Transportation - Excluding Cabotage) • บริการขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างประเทศ (Air Freight Services) • บริการขนส่งสินค้าทางรางระหว่างประเทศ (International Rail Freight Transport Services) • บริการขนส่งสินค้าทางถนนระหว่างประเทศ (International Road Freight Transport Services)
Liberalization of Logistics Services in ASEAN in 2013 • Logistics เป็นหนึ่งในสาขาเร่งรัดการสาขาเร่งรัด • การรวมกลุ่ม (Priority Integration Sector: PIS) • ที่จะต้องเปิดตลาดภายในปี 2013 70% Foreign ownership • วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นตลาดเดียวให้ได้ภายในปี 2020 โดยใช้มาตรการเปิดตลาดบริการโลจิสติกส์ การอำนวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการส่งเสริมการเชื่อมต่อระบบขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ 51% Foreign ownership 2013 49% Foreign ownership 2011 2008 ขึ้นอยู่กับกฎหมายภายในประเทศ
การเปิดเสรีบริการในอาเซียนการเปิดเสรีบริการในอาเซียน
การเปิดเสรีบริการในอาเซียนการเปิดเสรีบริการในอาเซียน
การเปิดเสรีบริการในอาเซียนการเปิดเสรีบริการในอาเซียน
การเปิดเสรีบริการในอาเซียนการเปิดเสรีบริการในอาเซียน