120 likes | 389 Views
การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ ระบบงานเกษตร. โดย นายพิสุทธิ์ ศาลากิจ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5. การขับเคลื่อน :- ภาคการเกษตร รองรับนโยบายรัฐบาล. นโยบาย :- การสร้าง “เครื่องมือ” เพื่อเป็น “กลไกการบริหารจัดการ” พื้นที่เกษตรกรรม (Agro-Zoning) ทิศทางอนาคต :- ยุทธศาสตร์ประเทศ
E N D
การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ ระบบงานเกษตร โดย นายพิสุทธิ์ ศาลากิจ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5
การขับเคลื่อน :- ภาคการเกษตร รองรับนโยบายรัฐบาล นโยบาย :- การสร้าง “เครื่องมือ” เพื่อเป็น “กลไกการบริหารจัดการ” พื้นที่เกษตรกรรม (Agro-Zoning) ทิศทางอนาคต :- ยุทธศาสตร์ประเทศ ทิศทางการกำหนด :- เขตเศรษฐกิจภาคเกษตร Zoning
นโยบาย :- การสร้าง “เครื่องมือ” เพื่อเป็น “กลไกการบริหารจัดการ” พื้นที่เกษตรกรรม (Agro-Zoning) แนวทาง Maximization :- พื้นที่ดินก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด (ผลตอบแทน/รายได้) Modernization :- เทคโนโลยีต้องปฏิรูป Precision Farming System :- ระบบฟาร์มที่มีคุณค่า/คุณภาพ (Smart Farmer) Progressive and Modern Agricultural Society :- ปรับรูปแบบการทำงาน (ระบบข้อมูลสู่การตัดสินใจ) Land Based Activity :- ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นศูนย์กลาง (Field Commander) Strategic Area :- พื้นที่ยุทธศาสตร์ (ทำได้/เกิดขึ้นได้) Demand & Supply :- สอดคล้องกัน
ทิศทางอนาคต : ยุทธศาสตร์ประเทศ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน Growth & Competitiveness หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) กฎระเบียบ
ทิศทางการกำหนด : เขตเศรษฐกิจภาคเกษตร Zoning การวิเคราะห์ผลผลิต การบริโภค และการตลาดที่เหมาะสม การจัด Zoning ภาคเกษตร การซ้อนทับแผนที่ผลผลิต คมนาคม การแปรรูป (Layer) การประเมินความเหมาะสมของดินและน้ำ การจัดแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน (Master Map)
วิธีคิด วิธีทำงาน การบริหารแบบบูรณาการ มิติความคิด คิดเชิงประโยชน์ที่จะได้รับ (Outcome) “การบริหารงาน” (Administrate) :- การดำเนินงาน “บูรณาการ (Integration) :- การรวมกัน จุดเน้นการใช้วิธี “บูรณาการ” กับ “การจัดการ” ช่วยลดความซ้ำซ้อน ช่วยลดเวลา คิดเชิงโครงสร้างองค์กรที่กำหนด (Organization):- พึ่งพากัน คิดเชิงโครงสร้างแผนงาน/โครงการ ที่กำหนด (Planning) :- แยกจากกันไม่ได้ แผนงาน โครงการ ยุทธศาสตร์ กิจกรรม
วิธีคิด วิธีทำงาน การบริหารแบบบูรณาการ มิติวิธีทำ กระทำบนแนวทาง “กระบวนการเรียนรู้” (Learning Process) ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ทัศนคติ นิสัย บุคลิก KNOWLEDGE UNDERSTAND SKILL ATTITUDE HABBIT กระทำบนแนวทาง “กระบวนการเปลี่ยนแปลง” (Adoption Process) สร้างบรรยากาศความตื่นตัว สร้างกระแสความสนใจ สร้างสรรค์ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สร้างต้นแบบการปฏิบัติ กำหนดยุทธศาสตร์สู่การเปลี่ยนแปลง AWARENESS INTEREST EVALUATION TRIAL ADOPTION
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Country Strategy • ปฏิรูปการเกษตรประเทศไทย (ปี 2556-2561) • Outcome ของการขับเคลื่อนนโยบาย 1 2 3 Flagship Project 8 โครงการ ประโยชน์ต่อเกษตรกร • - เกษตรกรได้รับการพัฒนาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ • เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น (>180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี) • เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ฯลฯ Vision “ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม” ยุทธศาสตร์ที่ 1 (7 โครงการ) มาตรฐานสินค้าเกษตร Zoning GAP CoC GMP การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) มกษ. HACCP ฯลฯ • หลุดพ้นจาก • ประเทศรายได้ • ปานกลาง ด่านสินค้าเกษตรชายแดน Demon… • รู้ความต้องการ & รู้ปัญหาของเกษตรกร • แก้ไขปัญหาและพัฒนาเกษตรกรได้ตรงจุด • ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า & มีประสิทธิภาพสูงขึ้น • กษ. ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายอย่างบูรณาการ ฯลฯ ประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ • ปรับสมดุลและ • พัฒนาระบบ • การบริหาร • จัดการภาครัฐ เครื่องจักรกล การเกษตร คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา Smart Farmer • ลดความ • เหลื่อมล้ำ • เป็นมิตรต่อ • สิ่งแวดล้อม เป็นต้นแบบให้ผู้อื่นในชุมชน Smart Farmer ต้นแบบ Existing Smart Farmer Developing Smart Farmer Green City ได้รับความรู้/มีการจัดการที่เหมาะสม 4 ยุทธศาสตร์หลัก Seed Hub ศูนย์ข้อมูล เกษตร กฎระเบียบ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ทีวีเกษตร ได้รู้ความต้องการ ของตลาด เพื่อวางแผนการผลิต การสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) ยุทธศาสตร์ที่ 3 (1 โครงการ) ได้พันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 4 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ เพิ่มพื้นที่ชลประทาน
Zoning = Area + Commodity + Human Resource พัฒนา กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่/สินค้า ได้อย่างเหมาะสม ขับเคลื่อน & บูรณาการ Information on Map & การดำเนินงานในพื้นที่ 1 3 2 Smart Farmer ผู้เชี่ยวชาญ (กรม) ให้คำปรึกษา “เกษตรกรไทยเป็น Smart Farmer โดยมี Smart Officer เป็นเพื่อนคู่คิด” G-Cloud One ID Card for Smart Farmer ให้คำปรึกษา e-check Smart Farmer Smart Officer • ส่งเสริม & ต่อยอด • พัฒนาเพิ่มเติมตามคุณสมบัติ • ช่วยเหลือ & สนับสนุน • พัฒนาปรับปรุงตามคุณสมบัติ • ฯลฯ กระบวนการผลิตไม่เหมาะสม เป็นต้นแบบให้เกษตรกรรายอื่น www.thaismartfarmer.net • โครงการต่อยอด • ร่วมกันพัฒนากลุ่มอื่นๆ ปลูกพืชไม่เหมาะสมกับดิน e-Services Knowledge Base Smart Officer ให้คำแนะนำเปลี่ยนชนิดพืช ที่เหมาะสม • Smart Farmer ต้นแบบ • Existing Smart Farmer • Developing Smart Farmer ผู้เชี่ยวชาญ (ในพื้นที่) ให้คำปรึกษา Smart Officer ผู้เชี่ยวชาญ (ในพื้นที่) ผู้เชี่ยวชาญ (กรม) • การใช้งานแผนที่ • การถอดบทเรียน • เพิ่ม Sense of Awareness • ฯลฯ • ความรู้เฉพาะสาขา/พื้นที่ • มาตรฐานสินค้า • การให้คำปรึกษา • ฯลฯ Zoning • ศึกษาวิจัย • นวัตกรรม • ความร่วมมือต่างประเทศ ฯลฯ ปลูกพันธุ์ไม่เหมาะสม การซ้อนทับข้อมูล (OVERLAY) อยากรู้ความต้องการของตลาดเพื่อวางแผนการผลิต Zoning ข้าว พื้นที่ ต. บ้านพริก อ.บ้านนา จ. นครนายก ชั้นความเหมาะสมปานกลาง ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย พื้นที่ปลูกข้าวในปัจจุบัน เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ผลิตสินค้าเหมาะสมกับพื้นที่ ผลิตสินค้า ตามความต้องการของตลาด Improve Productivity Commodity Balance Demand & Supply • ศูนย์ข้อมูลการเกษตร (War Room) • การจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ • แผนพัฒนาการเกษตรฯ ของจังหวัด • ปรับระบบส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรใหม่ • One Stop Service • MRF / คลังสมอง • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน & ระบบ Logistics ด้านการเกษตร • การสนับสนุนทางการเงิน • ฯลฯ บทบาทของ Smart Officer และภาคีเครือข่าย