1.33k likes | 2.33k Views
หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ. นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสารภี. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น. แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น. เผาป่า ทำร้ายตนเอง และ เพื่อนร่วมโลก. จุดเผาในพื้นที่ต่างๆ สัมพันธ์กับค่าละอองฝุ่น PM10. เชียงใหม่. ลำปาง. ลำพูน. ทางเดินของมนุษย์ สู่ มลพิษในอากาศ.
E N D
หมอกควัน ผลกระทบต่อสุขภาพ นายแพทย์จรัส สิงห์แก้ว ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสารภี
แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้นแหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น
แหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้นแหล่งกำเนิดที่มนุษย์ทำขึ้น
เผาป่า ทำร้ายตนเอง และ เพื่อนร่วมโลก
จุดเผาในพื้นที่ต่างๆ สัมพันธ์กับค่าละอองฝุ่นPM10 เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน
ทางเดินของมนุษย์ สู่ มลพิษในอากาศ เกษตร เผา โรงงานปล่อยมลพิษ บ้าน IPCC (2005)
สารพิษจากหมอกควัน PM2.5/PM10, NOx, SOx, Ozone, Dioxin, etc.รวมทั้งก๊าซเรือนกระจก
วิกฤตหมอกควันทำให้เจ็บป่วยกาย-จิตใจ และเศรษฐกิจซบเซา
ปัญหาหมอกควัน • หมอก คือปรากฎการณ์เมื่อความชื้นในอากาศเข้าใกล้ระดับ 100% เกิดการควบแน่นในระดับใกล้พื้นดิน
ปัญหาหมอกควัน • หมอกควัน (Haze, Smog) • หมอกควัน คือปรากฎการณ์ที่ฝุ่น ควัน และอนุภาคแขวนลอยในอากาศ รวมตัวกันในสภาวะที่อากาศปิด
ปัญหาหมอกควัน • Haze (ฟ้าหลัว) มักหมายถึงหมอกควันจากการเกษตร การก่อสร้าง มักเป็นอนุภาคของฝุ่น ควัน ขี้เถ้า- Smog (Smoke + Fog) มักหมายถึงหมอกควันมีพิษจากอุตสาหกรรม ยานพาหนะ เครื่องจักรกล
ส่วนประกอบของหมอกควันในภาคเหนือคือส่วนประกอบของหมอกควันในภาคเหนือคือ • 1) ขี้เถ้าของสารอินทรีย์ จากการเผาหญ้า ใบไม้ ไฟป่า ขยะอื่นๆ2) ควันจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในรถยนต์ โดยเฉพาะรถยนต์ดีเซล (และรถอื่น) ที่เครื่องยนต์ไม่สมบูรณ์
สารมลพิษทางอากาศ แบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. อนุภาคต่างๆ (Particulates) “ อนุภาคที่เป็นของแข็งล่องลอยในอากาศที่อยู่หลายชนิดและหลายขนาด ” 2. ก๊าซและไอระเหย เป็นสารที่มีอยู่ในสถานะก๊าซ รวมทั้งไอต่างๆ ซึ่งฟุ้งกระจาย ในอากาศ ได้แก่
สารพิษในบรรยากาศ • โอโซน(O3) • คาร์บอนมอนอกไซด์(CO) • ไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2) • สารอนุภาคละอองฝุ่น(PM-10 and PM-2.5) • ตะกั่ว(Pb)
1) ออกไซด์ของคาร์บอน คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) รวมตัวกับ ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด คาร์บอกซี่ฮีโมลโกลบินรวมตัวได้มากกว่าออกซิเจน 200-250 เท่า คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซเสียที่เซลล์ร่างกายไม่ต้องการ
ผลกระทบจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ผลกระทบจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ • ทำให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดภาวะขาดก๊าซออกซิเจน เช่น สมองหากได้รับก๊าซออกซิเจนไม่เพียงพอมีผลกระทบกระเทือนถึงระบบประสาทส่วนกลางเกิดอาการของพิษคาร์บอนมอนอกไซด์ คือ มีอาการง่วงซึม ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย วิงเวียน หน้ามืด ตาลายตามัว สายตาพร่า ความจำเสื่อม รู้สึกเฉื่อยชา การเห็นการได้ยินเสื่อมไป มึนงงเป็นลม ชัก คลื่นไส้อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เจ็บหน้าอก ออกซิเจนในเลือดลดต่ำลงทำให้หมดสติ และอาจถึงตายได้
ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณคาร์บอกซีฮีโมโกลบินอิ่มตัวในเลือด กับอาการของคนปกติ
2) ออกไซด์ของซัลเฟอร์ (SOx) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3) ก๊าซทั้งสองนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เกิดจาก การเผาไหม้ของกำมะถัน การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงต่างๆเช่น ถ่านหิน น้ำมัน มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถละลายน้ำได้ดี มีฤทธิ์เป็นกรด
ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ • ทำให้เกิดอาการระคายเคืองบริเวณผิวหนัง มีอาการแสบตา แสบจมูก นัยน์ตาอักเสบ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และทำลายเนื้อเยื่อปอดอาจกลายเป็นมะเร็งปอดได้ ถ้าออกไซด์ของ ซัลเฟอร์เจือปนในฝุ่นละอองบางชนิด เช่น ละอองของเหล็ก แมงกานีส วานาเดียม จะทำให้อันตรายที่เกิดขึ้นทวีความรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากฝุ่นละอองจะทำให้ออกไซด์ของซัลเฟอร์สามารถเข้าสู่ทางเดินหายใจได้ลึกมากขึ้น และตกค้างอยู่ในปอดได้นานขึ้น ถ้าสูดซัลเฟอร์ไดออกไซด์เข้าไปมากถึงขนาด อาจทำให้กล้ามเนื้อฝาปิดกล่องเสียง เกิดอาการกระตุก หดเกร็งทางเดินลมหายใจ ทำให้ตายได้
ผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระยะยาวผลของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระยะยาว
3) ออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ไนโตรเจนออกไซด์ (NO) เป็นก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้ มักเกิดจากเครื่องยนต์ใหม่ ถ้าเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์มาก ก็จะมีคาร์บอนมอนอกไซด์น้อย ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เป็นก๊าซที่มีสีน้ำตาลอมเหลืองทำให้เกิดหมอกควันเป็นก๊าซพิษ ไนตรัสออกไซด์ (N2O) มีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ก๊าซหัวเราะ เป็นก๊าซที่สามารถดูดซับความร้อนได้ถึง 200 เท่า
ผลกระทบจากไนตริกออกไซด์ผลกระทบจากไนตริกออกไซด์ • ก๊าซไนตริกออกไซด์ NO เมื่อเข้าไปในปอด จะกลายเป็น ไนโตรซามีน ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งที่ปอดได้ ทำลายเนื้อเยื่อปอด และทำให้ทางเดินหายใจอักเสบ • ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ทำให้เกิดอาการแสบคอ แสบจมูก และแสบตาได้ ถ้าได้รับเป็นระยะเวลานานจะเกิดอาการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ จะมีอาการบวมของเนื้อเยื่อในหลอดลมตอนบน และจะลุกลามถึงหลอดลมส่วนลึกในระบบจนถึงมีอาการปวดบวม และถ้าในอากาศมีปริมาณความเข้มข้นถึง 100 พีพีเอ็ม. จะหายใจไม่ออก ระบบหายใจล้มเหลวจนอาจเสียชีวิตได้
4) ไฮโดรคาร์บอน ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์โดยตรง รวมตัวกับไนโตรเจนออกไซด์โดยมีแสงเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่าปฏิกิริยาโฟโตเคมิคัลหรือ ปรากฏการณ์หมอกพิษ 5) โอโซน ถ้าบริเวณอากาศที่เราหายใจมีก๊าซโอโซนมากถึงระดับ 0.1 พีพีเอ็มจะก่อให้เกิดความระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจ
โอโซนทำให้เกิด • การระคายเคืองทางเดินหายใจ • ปอดเสื่อมหน้าที่ หายใจติดขัด • กระตุ้น ทำให้โรคหอบหืดกำเริบ • ทำลายเซลล์เยื่อบุในปอด • กระตุ้นโรคปอดเรื้อรัง ทำลายภูมิต้านทานทางเดินหายใจทำให้ติดเชื้อง่าย
6. PM-10 หรือพีเอ็ม10คือ ฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก (Particulate Matter) ที่มีอนุภาคเล็กกว่า 10 ไมครอน • ถ้าเกิน 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จะมีผลต่อสุขภาพและระบบทางเดินหายใจ
พีเอ็ม 10 (10 ไมครอน) พีเอ็ม 2.5 (2.5 ไมครอบ) เทียบฝุ่นพีเอ็ม – 10 กับเส้นผม เส้นผมภาพตัดขวาง (60 ไมครอน) เส้นผมมนุษย์
อะไรคือ พีเอ็ม2.5? เส้นผม เม็ดทรายที่ละเอียดที่สุด อันตรายต่อสุขภาพขึ้นอยู่กับขนาดของฝุ่น ยิ่งเล็กยิ่งอันตราย และสามารถลอยอยู่ในอากาศได้นานนับสัปดาห์. British Columbia Ministry of the Environment
เปรียบเทียบขนาดของสารและเซลล์เปรียบเทียบขนาดของสารและเซลล์ เม็ดเลือดแดง เซลล์ โครโมโซม ไวรัส แบคทีเรีย เส้นผม สาร PM10 สารPM10 - 2.5 สารPM2.5
แหล่งของฝุ่นขนาดเล็ก การขับของเสียออกมาโดยตรง จากยานพาหนะ การเผา จากปฏิกิริยาของกลุ่มสารตัวทำละลายอินทรีย์รวมตัวกับแอมโมเนียและของเสียจากการเผาไหม้น้ำมันทำให้เกิดฝุ่นขนาดเล็ก
ดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index : AQI)เป็นการรายงานข้อมูลที่ง่ายต่อการสร้างความเข้าใจของประชาชนเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ • แบ่งความรุนแรงได้ 5 ระดับ
คุณภาพอากาศAir Quality Index (AQI) คำนวณจากค่าเฉลี่ยของ • โอโซน ground-level ozone • ฝุ่นขนาดเล็กparticulate matter • คาร์บอนมอนนอกไซด์ carbon monoxide • ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ sulfur dioxide • ไนโตรเจนไดออกไซด์ nitrogen dioxide
ปัญหาหมอกควัน • ลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อให้เกิดหมอกควันปกคลุม ได้แก่ พื้นที่แอ่งกระทะ หรือพื้นที่ปิดระหว่างหุบเขา
จุดที่ละอองฝุ่นเดินทางเข้าสู่ร่างกาย?จุดที่ละอองฝุ่นเดินทางเข้าสู่ร่างกาย? ระยะที่ 1 (5-9) ระยะที่ 2 (5-6) ระยะที่ 3 (4-5) ระยะที่ 4 (2-3) ระยะที่ 5 (1-2) ระยะที่ 6 (0.5-1) (ขนาดเส้นฝ่าศูนย์กลางเป็นไมครอน)
ระบบหายใจของมนุษย์ Fig. 15-14a, p. 360
ถุงลม Bronchiole Alveolar duct Alveolar sac (sectioned) Alveoli Fig. 15-14c, p. 360
อนุภาคเล็กๆสามารถทะลุผ่านถุงลมได้อนุภาคเล็กๆสามารถทะลุผ่านถุงลมได้
ผลกระทบต่อปอด • ปอดอักเสบและเซลล์บาดเจ็บ • การทำหน้าที่ของปอดเสื่อมลง • เพิ่มปฏิกิริยาภูมิแพ้ของทางเดินหายใจ • อาการทางระบบทางเดินหายใจเพิ่ม • หอบหืดกำเริบ • เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ EPA, PM Criteria Document 11/04
สารพี เอ็ม กับผลกระทบที่ปอด • อาการที่พบได้: • ระคายเคืองทางเดินหายใจ; • ไอ; • เสมหะติดคอ; • ปอดทำงานลดลง; • ภาวะทางเดินหายใจอักเสบ; • หอบหืดกำเริบ; และ • อาการหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ปอดดี และ ปอดเป็นโรค Fig. 15-15, p. 360
สารกลุ่มรีแอคทีพออกซิเจนและรีแอคทีพไนโตรเจนจากสารพีเอ็ม-10 การอักเสบเฉียบพลันของระบบต่างๆ, ลดปฏิกิริยาใช้ออกซิเจน, เกิดการเคลื่อนย้ายของเกล็ดเลือดและเยื่อบุหลอดเลือด, โดยเกล็ดเลือดและเม็ดเลือดขาวรวมตัวเกาะที่ผนังหลอดเลือดก้อนพังผืดและไขมันที่ผนังหลอดเลือดไม่เสถียรและแตก. หลอดเลือดอุดตันเรื้อรัง. พีเอ็ม ทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด Adherence andentry of white blood cells Vascular smooth muscle cell migration Adherence andaggregation of platelets Foam-cellformation Inflammatory cell activation
ผลต่อระบบหัวใจ • ทำให้ • อัตราการเต้นหัวใจเร็ว หรือ ช้ากว่าปกติ • หัวใจเต้นผิดจังหวะ • การเต้นหัวใจไม่สม่ำเสมอ ขึ้นกับช่วงเวลาที่สัมผัสฝุ่น • ความดันโลหิตสูง • เลือดแข็งตัว เกาะกันเป็นลิ่ม • การอักเสบของเส้นเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ • ผู้มีโรคหัวใจหรือปอดอยู่แล้วจะได้รับผลกระทบมาก EPA, PM Criteria Document, 2004
สารพี เอ็ม กับ โรคหัวใจ องค์ประกอบของเลือดเปลี่ยนแปลงนำไปสู่การแข็งตัวเป็นลิ่มเลือดง่าย ทำให้เส้นเลือดหัวใจอุดตัน ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและเสียชีวิตได้