420 likes | 546 Views
รูปแบบและแนวทาง การเขียนรายงานการวิจัย ทางสังคมศาสตร์. รองศาสตราจารย์ ดร. โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. บัตรห้องสมุด. ใครเขียน....................................เมื่อไหร่............ในบทความเรื่อง...........
E N D
รูปแบบและแนวทางการเขียนรายงานการวิจัยทางสังคมศาสตร์รูปแบบและแนวทางการเขียนรายงานการวิจัยทางสังคมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร. โยธิน แสวงดี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
บัตรห้องสมุด • ใครเขียน....................................เมื่อไหร่............ในบทความเรื่อง........... ชื่อหนังสือ...................ฉบับ...............ปีที่................................หน้า.........................ระเบียบวิธีการวิจัย................ ......................ข้อค้นพบ.....................................................ข้อไม่พบ.........................................................................จุดเด่น.................................................................................จุดด้อย.........................................................แนวทางที่เราจะทำให้ดีกว่า..................................................................
บท • บทที่ 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา(3 หน้า) ความจำเป็นที่ต้องทำ คำถามวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้จากงานวิจัย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ขอบเขต ข้อจำกัด
บทที่ 2 ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง(20 – 30 หน้า) กรอบแนวความคิด นิยามศัพท์เพื่อปฏิบัติการวิจัย ตัวแปร ความหมาย/นิยาม และระดับการวัดของข้อมูล • บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (15 – 25 หน้า) ชุมชนที่ศึกษา ประเภทของการวิจัย (research design) ประชากรและวิธีการสุ่มตัวอย่าง-เชิงปริมาณ เครื่องมือและวิธีสร้างเครื่องมือ ฯลฯ-เชิงปริมาณ ผู้รู้ที่เป็นผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพและวิธีการรวบรวมข้อมูล-เชิงคุณภาพ
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลและอภิปรายผล (30 – 45 หน้า) แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย สถิติเชิงพรรณนา(แสดงปรากฏการณ์แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย และ วัตถุประสงค์การวิจัย) สถิติเพื่อการณ์ทำนาย(แยกประเด็น ตามคำถามวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย และ สมมุติฐานเพื่อการพิสูจน์ในเชิงสถิติ) บทที่ 5 บทสรุป (ย่อจาก บทที่ 4 ให้เหลือ 3 – 4 หน้า) บทสรุป ข้อเสนอแนะในเชิงนโยบาย (จากผลที่ได้จากงานวิจัยนี้เท่านั้น) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป (จากข้อจำกัด จากผลการวิเคราะห์ ที่ไม่ชัดเจน ขยายขนาดงานให้โตขึ้น ฯลฯ) • บทคัดย่อ (Abstract) (ย่อจากบทสรุป ให้เหลือ 3 ใน 4) • บทสรุปสำหรับผู้บริหาร (ย่อบทที่ 1 เฉพาะที่มาของปัญหารวมกับ บทที่ 4 ให้เหลือไม่เกิน 10 หน้า)
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ................................... .... ตารางที่ 2 .................................. .... ตารางที่ 3 .................................. .... ตารางที่ 4................................... .... ตารางที่ 5 .................................. .... ตารางที่ 6 .................................. ....
สารบัญกราฟ หน้า กราฟที่ 1 ................................... .... กราฟที่ 2 .................................. .... กราฟที่ 3 .................................. .... กราฟที่ 4................................... .... กราฟที่ 5 .................................. .... กราฟที่ 6 .................................. ....
สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1 ......................................... .... รูปที่ 2 ........................................ .... รูปที่ 3 ........................................ .... รูปที่ 4 ......................................... .... รูปที่ 5 ........................................ .... รูปที่ 6 ........................................ ....
วิธีการที่ควรตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับแต่ละหน้าที่เขียนวิธีการที่ควรตระหนักอยู่เสมอเกี่ยวกับแต่ละหน้าที่เขียน • หนึ่งหน้าควรมีประมาณ 2 หรือ 3 ย่อหน้าเท่านั้น • ในแต่ละย่อหน้าควรมีอ้างอิง ปรากฏประมาณ 2 – 4 แห่ง เพราะชี้ให้เห็นว่าเรามีความรู้ที่อ้างอิงได้ในประเด็นที่เราเขียน เป็นผลดีต่อเราที่แสดงถึงการเป็นผู้มีความรู้ มิใช่เขียนตามจินตนาการเอง • การอ้างอิงไม่ควรซ้ำในหน้าเดียวกัน และทั้งเล่มอ้างซ้ำได้ครั้งเดียว • หากเป็นทฤษฎีที่อมตะ หรือ แนวคิดอมตะ ปีโบราณได้ • หากเป็นงานวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางสังคมศาสตร์จะนิยมอ้างภายในหนึ่งทศวรรษ หรือ 10 ปี • ให้ใช้สำนวนภาษาสารคดี
บทที่ 1. บทนำ • 1) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (2-3 หน้า) • - ความสำคัญของประเด็นนี้ในวงวิชาการสากล (โลก) • - ยุทธศาสตรของโลก ประเทศ (อ้างอิง 21; 8;2) • - ยุทธศาสตร์จังหวัด • - ยุทธศาสตร์สังคมนั้น ๆ • - กล่าวถึงสังคม ชุมชน หรือ กลุ่มคน ที่เลือกทำการศึกษา ว่าสำคัญอย่างไร (เน้นให้เห็นความสำคัญของประเด็น ชี้สู่ปรากฎการณ์ที่จะทำการวิจัย; อ้างอิง 18;22)
2) ชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องทำของเรื่องนี้ในสังคมนี้ (ไม่ใช่ประโยชน์ของงานวิจัย เน้นปรากฎการณ์ อาจแสดงด้วยตัวเลข กราฟ หรือ ตาราง) เช่น ความรุนแรงของปัญหา ความรุนแรงของประเด็นวิจัย หรือ อีกนัยหนึ่งแสดงความอ่อนด้อยของประเด็นวิจัยนั้นๆ ผลดีจะเกิดขึ้นต่อสังคม ฯลฯ อย่างไร ถ้าไม่ทำเรื่องนี้ จะมีผลเสียอย่างไร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำ เป็นประเด็นหลักที่ต้องชี้แจง จึงกำหนดคำถามวิจัยว่า........................หรือไม่อย่างไร นอกจากนี้ยังประสงค์ที่จะค้นหาว่า .......................มีผลต่อ .............อย่างไร ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ในการชี้ให้เห็นว่า................จากเหตุผลดังกล่าวจึงกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยไว้ดังนี้
3) คำถามวิจัย (ปัญหาวิจัย, โจทย์วิจัย) ต้องมีความชัดเจนที่สำคัญจะนิยมต่อท้ายประโยคด้วยคำว่า อย่างไร?อะไร?ทำไม? • 4) ประโยชน์ของงานวิจัย เพื่ออะไร? 1. เพื่อการปฏิบัติการ มาตรการทางนโยบาย นำผลการวิจัยไปใช้ทำคู่มือ 2. เพื่อองค์ความรู้ทางการวิจัย - ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ - ยืนยันทฤษฎีเดิมว่ายังคงเป็นอยู่ - ยกเลิกทฤษฎีเก่า - ยกเลิกนโยบายเก่า ยกเลิกมาตรการเก่า ยกเลิกคู่มือเก่า ยกเลิก ยุทธวิธีการบริหารเก่า ฯลฯ
5. วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่ออะไรสอดคล้องกับคำถามวิจัยหรือไม่ - เพื่อศึกษา (แบบนี้ค่อนข้างโบราณ) - เพื่อตรวจสอบ (Examine) - เพื่อค้นหา (Investigate) - เพื่อหาผลกระทบ (Effect) - เพื่อหาผลสะท้อน (Impact) - เพื่อหาผลกระทบ (Consequences) - เพื่อค้นหาอิทธิพล (Influenees) - เพื่อสืบค้น แสวงหา สำรวจ (Explore) คำที่นิยมใช้ ในการตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งจะนิยมจำแนกเป็นข้อ ๆ เช่น : 1) ........................ 2) ........................
บทที่ 2. ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง • มีการกล่าวถึงทฤษฎี ที่สำคัญและเกี่ยวข้องจริง ๆ (Positivism: หลักปฏิฐานนิยม)หมายถึงทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะค้นหา หรือ พิสูจน์……(อ้างอิง 23;12) • ……………………(อ้างอิง 2;21) • ทฤษฏีหลักในแต่ละสาขาจะระบุไว้ในตำราเรียนระดับปริญญาตรี ว่าในสาขามี • ทฤษฏีที่สำคัญอะไรบ้าง • ข.งานวิจัย และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่จะค้นหาประเด็นของงานวิจัยที่จะต้องพิจารณาถึงได้แก่ : - ระเบียบวิธีการวิจัยที่ใช้ ต้องวิพากษ์ถึงจุดแข็งของเขา และตำหนิจุดอ่อน พร้อมกับเสนอว่า เราจะทำให้ดีกว่านี้ด้วยวิธีการที่จะนำเสนอในบทระเบียบวิธีวิจัย • - ผลที่ได้ เนื้อหาที่ได้จากการอ่านเรื่องนั้น ยังคลุมเครือ หรือไม่ชัดเจน แต่เป็นคนละยุคสมัยจึงต้องพิสูจน์ใหม่…………………………………….(อ้างอิง 3;11) สอดคล้องกับ คล้ายกับ ขัดแย้งกับ • ค. การแสดงภาพกรอบแนวความคิด และต้องมีคำอธิบาย นิยามศัพท์ที่สำคํญ
ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล การพิสูจน์โดยหลักECONOMETRICS การค้นหาสูงสุดคือ Determinants หรือ Factors เหตุ คือ ตัวแปรต้น หรือปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้ตัวแปรอื่นหรือตัวแปรตามเปลี่ยนแปลง ผล คือ ตัวแปรตาม หรือ ตัวแปรที่ผันแปร ไปตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ หรือตัวแปรต้น เหตุ ผล Cause Consequence X Y ตัวอย่าง การศึกษา ค่าจ้างแรงงาน ต้องเข้าใจแนวคิด Causal Model 1) Cursive relationship ในลักษณะ X Y 2) Recursive relationship ในลักษณะ X Y
แนวคิด Causal Relationship Model ตัวแปรภายใน (Endogenous Factors) I, J, K,... ตัวแปรมาก่อน (Antecedent Variables) A, B, C,... Z X ตัวแปรภายนอก (Exogenous Factors) Q, R, S,…. Y ตัวแปรอิสระ (X) คือ ตัวแปรต้น ตัวแปรที่มีค่าเปลี่ยนแปลงได้อย่างอิสระไม่ได้ถูกกำหนดจากตัวแปรอื่นๆ ที่ผู้วิจัยกำลังศึกษา หรือตัวแปรที่เป็นสาเหตุให้ตัวแปรอื่นเปลี่ยนแปลงตามตัวแปรตาม (Y)คือ ตัวแปรตาม หรือ ตัวแปรที่ผันแปรค่าไปตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ (ตัวแปรอิสระ หรือ ตัวแปรต้น)
กรอบแนวความคิด ยึดตามทฤษฎี (เป็นการพิสูจน์ทฤษฎี) แล้วโยงความสัมพันธ์ในรูปกล่อง (Box)และเส้น โครงสร้างความ สัมพันธ์เชิงเหตุ และผลนี้เป็นเพียง โครงสร้างสมมุติ เพื่อพิสูจน์ตาม คำถามวิจัย อาจยืดหยุ่นได้เมื่อ เผชิญกับการเก็บ ข้อมูลในสนาม ปัจจัยในบุคคลนั้น X4 Y ตัวแปรสิ่งแวดล้อม ตัวแปรในชุมชนนั้น = สังเกต = พฤติกรรมของบุคคลที่เกิดขึ้น ก่อนที่จะเกิดตัวแปรตาม X4 = ความสัมพันธ์ = ตัวแปรตาม Y
Effect/Relation การสร้างกรอบแนวคิด การวิจัยเชิงปริมาณ หลักในการสร้างกรอบแนวความคิด • สร้างแบบกรอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตัวแปรกลาง ตัวแปรตาม Cause Consequence Direct Effect Indirect Effect X1 X1 X2 Y X3 Y X2 X3 Observed
ตัวอย่างกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับแผนงานด้านสุขภาพตัวอย่างกรอบแนวความคิดเกี่ยวกับแผนงานด้านสุขภาพ บุคลิคภาพของบุคคล อายุ, เพศ, ที่อยู่อาศัย, สถานะภาพสมรส พฤติกรรม สุขภาพที่ดีและ เหมาะสม สถานะสุขภาพ การใช้บริการสุขภาพ ปัจจัยที่กำหนด ไว้ในแผนงาน โอกาสเป็น มะเร็งปอด การมารับบริการ การไม่สูบบุหรี่ คุณภาพการให้บริการ
บทที่ 3ชุมชนที่ศึกษาและระเบียบวิธีวิจัย • ชุมชนที่ศึกษา รายละเอียดของชุมชน หมู่บ้าน กลุ่มคนที่เราทำการศึกษา เป็นการชี้ไห้เห็นบริบททางสังคมของหน่วยที่เราทำการศึกษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ฯลฯ หากเจาะไปที่ชุมชนควรมีแผนที่หมู่บ้าน ชุมชน แสดงด้วย ระเบียบวิธีวิจัย เชิงปริมาณต้องกล่าวถึงประชากรและการสุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด มีการอธิบายถึงตัวแปรต่างๆ และจะต้องกล่าวถึงนิยามศัพท์เนื่องจากเป็นการประมาณค่า ความหมายปละระดับการวัดของตัวแปร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยในเชิงคุณภาพ ที่ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลที่เป็นความรู้และเป็นความจริงจากผู้รู้ที่รู้จริง(Key informants) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ 1)................. 2)...................3................และ 4)............... โดยมีขั้นตอนและกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลดังนี้
การวิเคราะห์ผลกระทบในข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณการวิเคราะห์ผลกระทบในข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณ • การสุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสความน่าจะเป็นทางสถิติ • กรอบประชากรตัวอย่างไม่มีระบบเพราะไม่สามารถกำหนดได้ • แต่วิธีได้ตัวอย่างใช้การเลือกตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด • การสุ่มแบบบังเอิญ • การสุ่มแบบเจาะจง หรือการคัดเลือกคนเพื่อตอบคำถาม ต้องพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ การสุ่มแบบเจาะจงจะใช้สถิติเชิงอนุมาน มาวิเคราะห์ไม่ได้ สากลไม่ยอมรับ สถิติ เชิงอนุมาณ (Inferential Statistics) ได้แก่ 1. Regression ทุกมิติ 2. ANOVA, FACTORS ANALYSIS ฯลฯ
1) การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง (Focus group discussion) ที่ได้กำหนดคุณลักษณะของผู้ให้ข้อมูลไว้ดังนี้ ...... • ....................... โดยในขั้นตอนของการคัดเลือกบุคคลเข้าร่วมการสนทนากลุ่มได้ดำเนินการค้นหาด้วยวิธี............. และมีแนวคำถามที่ใช้ในการสนทนาดังที่ปรากฎในภาคผนวก ชึ่งแนวคำถามนี้ได้มีการทดสอบเนื้อหาของข้อคำถามจากการสนทนากลุ่มกับกลุ่มผู้รู้ที่รู้จริง ณ................อนึ่ง เพื่อเป็นการตรวจสอบความแม่นตรงของเนื้อหาข้อมูล ได้ทำการจัดสนทนากลุ่มจำนวน.......กลุ่ม โดยใช้หลักการตรวจสอบสามเส้า
2) การสนทนากลุ่มย่อย ..................................... • ......................................................... • 3) การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบเจาะลึก ................................................. • ............................................................ • มีการทดสอบวิธีการรวบรวมข้อมูล Feasibility Test หรือไม่ - ทดสอบแนวคำถามที่จะใช้ในสนามแล้วนำมาปรับแก้ (อาจทดสอบหลายครั้ง) • ทดสอบความเป็นไปได้ที่จะใช้ในการรวบรวมข้อมูลในสนามจริง - จำนวนครั้งที่ใช้ทดสอบ - พื้นที่ เช่น ชุมชน สังคม ฯลฯ ที่ใช้ในการทดสอบ
บทที่ 4ผลการวิเคราะห์และอภิปรายผล • ประเด็นแรกในวัตถุประสงค์การวิจัย ที่จะนำไปสู่การตอบคำถามการวิจัย (Domain 1) • เชิงปริมาณแสดงการกระจายของข้อมูล (Phenomenologicalism: หลักปรากฏการณ์นิยม) • ทำการค้นหาตามคำถามวิจัยด้วยสถิติที่เหมาะสมกับการกระจายและระดับการวัดของข้อมูล • ควรมีการแสดงด้วยตารางและกราฟแท่งกับกราฟเส้น • ต้องอย่าลืมหัวใจของการวิจัยเชิงคุณภาพที่เน้นความสัมพันธ์ของคนกับสังคม บริบทสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต วัฒนธรรมกลุ่มย่อย ฯลฯ ที่มีผลต่อพฤติกรรม ลักษณะครัวเรือนและความเชื่อที่มีผลต่อการใช้วิธีคุมกำเนิด เมื่อพิจารณาถึง ........................ผลการวิจัยนี้พบว่า ......... ..................................................(อ้างอิง 1/21).................. ...................(อ้างอิง 3/ 6/ 9)....................ชึ่งจะขอแยกอธิบายดังนี้ 1. ครัวเรือนขยาย ...................................................(อ้างอิง 7)………….(อ้างอิง 11/4) .......................................(อ้างอิง 34/ 12) ดังประเด็นที่ได้จากการสนทนากลุ่มต่อไปนี้ “…………………………………… …………………………………… ……………………………………” (หญิง อายุ 30 – 35 ปี) “…………………………………..” 2. ครัวเรือนเดี่ยว .............................................................. ................(อ้างอิง 10).............................(อ้างอิง 5/7/8)………………
สิ่งที่ต้องพิจารณาก่อนการวิเคราะห์ข้อมูลสิ่งที่ต้องพิจารณาก่อนการวิเคราะห์ข้อมูล • อ่านคำถามวิจัยทุกคำถามให้เข้าใจว่าแต่ละข้อต้องการค้นหาอะไร • อ่านวัตถุประสงค์การวิจัยในแต่ละข้อว่าต้องการทำอะไร • อ่านสมมุติฐานเพื่อการตรวจสอบในทางสถิติให้เข้าใจทุกข้อ • เริ่มต้นด้วยการตรวจสอบการกระจายของข้อมูล เช่น พิจารณา Missing Value ไม่ทราบ ไม่ตอบ ไม่มีข้อมูล ในแต่ละคำถาม หรือ แต่ละตัวแปร • ทำความสะอาดข้อมูล ด้วยการตรวจสอบความถูกต้องทั้งหมด • จำนวนตัวอย่าง ในทุกตัวแปร หรือทุกข้อคำถามต้อง (ควร) เท่ากัน
หัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยในเชิงปริมาณหัวใจสำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยในเชิงปริมาณ • แสดงค่าการกระจาย, เพื่อค้นพบองค์ความรู้ใหม่, • ทดสอบทฤษฎี และ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ • การพรรณนา (Description) แสดงผลจากการสำรวจ • การอธิบาย (Explanation) แสดงความสัมพันธ์ • การทำนาย การพยากรณ์ (Prediction; Estimate) ค้นหา Effect Size • การควบคุม (Control) ออกกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรการ
สมมุติฐานการวิจัยสำหรับพิสูจน์ในทางสถิติ(Statistical Testing Hypothesis) การพิสูจน์ตามแนวคิดเศรษฐมิติ (Econometric) หรือ หลักคิดเหตุและผลกระทบ (Cause and Consequence) ที่เชื่อว่า Cause Consequence จะพบมากในการพิสูจน์โดยสมการ Regression Analysis เช่น ทฤษฎีการบริหารของ Max Weber “ขนาดองค์กรมีผลต่อการควบคุมประสิทธิภาพการทำงานองค์กรขนาดใหญ่หากการบริหารจัดการไม่เหมาะสม ขนาดขององค์กรจะมีผลในการชลอปสิทธิภาพการทำงาน” Size Efficiency คำถามวิจัย “ขนาดขององค์กรที่ใหญ่โตจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานหรือไม่? อย่างไร? สมมุติฐานการวิจัย “ขนาดขององค์กรจะมีความสัมพันธ์ในทางลบกับประสิทธิภาพการทำงาน”
สร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้าสร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้า • สร้างตารางเปล่าไว้ล่วงหน้าหลายๆตาราง ว่าในการวิเคราะห์และอภิปลายผลข้อมูล จะแสดงหรือชี้ให้เห็นปรากฏการณ์ใดบ้างจากข้อมูลที่เรามี • แนวคิดในการสร้างตารางต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเสมอ โดยตัวแปรอิสระจะกำหนดตัวแปรตาม • การเรียงลำดับที่ของตารางจะเรียงลำดับตามคำถามวิจัย จากคำถามแรกไปสู่คำถามสุดท้าย หรือ อีกนัยหนึ่งคือ จากคำถามที่ง่ายไปสู่คำถามที่ยาก
การจัดระดับการวัดของตัวแปรในตารางการจัดระดับการวัดของตัวแปรในตาราง • ตัวแปรอิสระทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย • ตัวแปรตาม ทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย • ตัวแปรควบคุมทุกตัวในตารางแสดงข้อมูลตัวเลข ต้องมีระดับการวัดสอดคล้องกับที่ระบุในนิยามศัพท์เพื่อการปฏิบัติการวิจัย
ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 1 1. ในกรณีที่มี 1 ตัวแปร เช่นเพศหรืออายุ ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากรแยกตามเพศ เพศ ร้อยละ จำนวน ชาย 49.5 168 หญิง 50.4 172 รวม 100 340
ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 2 ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากรแยกตามกลุ่มอายุ อายุ ร้อยละ จำนวน 0-4 41.2 140 5-9 28.8 98 10-14 10.6 36 15-19 19.4 66 รวม 100 340
Y X ตัวอย่างการสร้างตารางเบื้องต้น 4 ตารางที่ 3 รายได้ของประชากรแยกตามระดับการศึกษา รายได้ (บาท) การศึกษา รวม < 20,000 20,000-30,000 >30,000 ไม่ได้เรียน 50.0 40.0 10.0 100.0 ประถมศึกษา 48.0 45.0 7.0 100.0 มัธยมศึกษา 43.0 52.0 5.0 100.0 ปริญญาตรีขึ้นไป 8.0 40.0 52.0 100.0 เฉลี่ย 37.3 44.2 18.5 100.0
การสร้างกราฟ • กราฟแท่งมีไว้เพื่อเปรียบเทียบความสูง ความห่าง ความต่าง • กราฟเส้นมีไว้เพื่อชี้และวิเคราะห์ให้เห็นความชัน ความลาด ความเร็ว ความโด่ง ความห่าง ระยะเวลา ความกว้าง แต่ไม่ควรแสดงเกินสามเส้นในหนึ่งกราฟ • กราฟวงกลมไม่ค่อยนิยม หากจะใช้จะเน้นที่ Segment และการหาทางกลืนพื้นที่
กราฟที่นิยมใช้ กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น
วิธีการวิเคราะห์และตีความพร้อมอภิปรายผลวิธีการวิเคราะห์และตีความพร้อมอภิปรายผล • อ่านตาราง หรือดูกราฟที่สร้างขึ้นมาด้วยการใส่ใจมากๆในการคิด แล้ววิเคราะห์ แยกแยะ ตามความรู้ที่เคยอ่านพบในทฤษฎีก่อน เขียนความเห็นของเราลงไปก่อนว่าเราพบอะไรบ้างเมื่ออ่านจากตารางนี้หรือจากกราฟ จาก รูปนี้ จะนิยมเขียนไว้ไต้ตาราง หรือ ไต้กราฟ ไต้รูปไว้ก่อน • หลังจากนั้นพิจารณาด้วยการคิด วิเคราะห์ในใจอีกครั้งว่า ปรากฏการณ์ที่เห็นจากตารางนี้ จากกราฟนี้ หรือจากรูปนี้ เหมือน หรือคล้าย หรือ สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่ผ่านๆมาในบทวรรณกรรมที่เราเขียนไว้ของใครบ้าง แล้วเขียนบรรยายไว้อีกโดยนำอ้างอิงมาใส่ไว้ด้วยทุกบทความที่สอดคล้อง • แล้วพิจารณาอีกว่าแตกต่าง ขัดแย้ง ไม่สอดคล้องกับใครบ้าง เพราะอะไร หาความต่างให้พบแล้วเขียนบรรยายพร้อมอ้างอิงคนที่ต่าง • จากนั้นค่อยเขียนเรียบเรียงด้วยภาษาสารคดีให้สื่ออย่างเข้าใจ
วิธีการเขียนเพื่อบรรยายตารางวิธีการเขียนเพื่อบรรยายตาราง • ให้เขียนแบบจัดตารางไว้ตรงกลางหน้า (Sandwich) • เขียนบรรยายมาก่อนแล้วระบุตารางต่อไปนี้ • แล้วอธิบายต่อว่า จากตารางข้างต้น พบปรากฏการณ์อะไรอีกบ้าง • ในหนึ่งหน้า ไม่ควรมีตารางมากเกินสองตาราง • ในหนึ่งหน้าไม่ควรมีกราฟ หรือรูป เกิน สอง กราฟ หรือ รูป
หากพิจารณาถึงความสำคัญของลักษณะครัวเรือนต่อความเชื่อและการตัดสินใจใช้วิธีคุมกำเนิดสามารถจำลองเป็นแผนผังได้ดังนี้หากพิจารณาถึงความสำคัญของลักษณะครัวเรือนต่อความเชื่อและการตัดสินใจใช้วิธีคุมกำเนิดสามารถจำลองเป็นแผนผังได้ดังนี้ ลักษณะครัวเรือน ความเชื่อ การตัดสินใจคุมกำเนิด
ประเด็นที่สองในวัตถุประสงค์การวิจัย ที่จะนำไปสู่การตอบคำถามการวิจัย (Domain 2) .......................................... ................................................... .............................(ฮ้างอิง 7/19)................................... ......................................(อ้างอิง 16/22/35)............. “……………………………….. ………………………………… ………………………………….” (…………………………….)
ตัวอย่างแผนภาพเกี่ยวกับงานด้านสุขภาพตัวอย่างแผนภาพเกี่ยวกับงานด้านสุขภาพ บุคคลิคภาพของบุคคล อายุ, เพศ, ที่อยู่อาศัย, สถานะภาพสมรส พฤติกรรม สุขภาพที่ดีและ เหมาะสม สถานะสุขภาพ การใช้บริการสุขภาพ ปัจจัยที่กำหนด ใว้ในแผนงาน โอกาสเป็น มะเร็งปอด การมารับบริการ การไม่สูบบุหรี่ คุณภาพการให้บริการ
บทที่ 5สรุปและข้อเสนอแนะ • สรุปผลการวิเคราะห์ที่บรรยายและอธิบายไว้ในบทที่ 4 เท่านั้น • แต่ย่อให้สั้นลงและกระชับ ไม่ต้องมีคำพูดและแผนผัง (แผนภาพ) • เน้นในประเด็นที่เป็นการตอบคำถามวิจัยและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย • ประมาณ 3 – 4 หน้า • ข้อเสนอแนะ ต้องนำข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยมาชี้ให้เห็นว่าควรทำอย่างไร
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ควรเน้นไปที่ครอบครัวขยายเนื่องจาก...................... 2…………………………………… ข้อเสนอสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรนำประเด็นที่คลุมเครือที่เราไม่แน่ใจว่าเราค้นพบแล้วหรือยังไม่พบไปเจาะต่อ เช่น ประเด็น .............................. เพราะ ................ หรือควรนำไปพิสูจน์อีกครั้งในอีกสังคมหนึ่ง ที่มีลักษณะที่คล้ายกันในเรื่องลักษณะของผู้รู้ แต่คนละบริบท
บรรณานุกรม เรียงตามอักษร (โดยทั่วไปให้บรรณารักษ์ช่วย) ไทย 1…….. 2…….. 3……. อังกฤษ 4……. 5…… 6……