600 likes | 831 Views
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. Agricultural Land Reform Office. ยินดีต้อนรับ. ผู้เข้ารับฟังการประชุมชี้แจงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA ) และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน วันจันทร์ ที่ 14 กรกฎาคม 2551 (เวลา 09.00 – 16.00 น.)
E N D
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม Agricultural Land Reform Office ยินดีต้อนรับ ผู้เข้ารับฟังการประชุมชี้แจงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน วันจันทร์ ที่ 14 กรกฎาคม 2551 (เวลา 09.00 – 16.00 น.) ณ ห้องประชุมไชยยงค์ ชูชาติ ส.ป.ก. ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพฯ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 Good Governance New Public Management Strategic Management • Strategy Formulation • การวางวิสัยทัศน์และการคิดเชิงกลยุทธ์ • Strategy Map • การบริหารความ • เสี่ยง • วางแผนโครงการ • Strategy Implementation • Org. Structure (GO/PO/SOE/SDU/etc.) • Process Redesign • IT (e-gov) • People (Competency) • Culture • KM • กฎหมาย • Strategic Control • คำรับรองการปฏิบัติ • ราชการ (PA) • BSC • Individual • Scorecard รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม Globalization คตป Good strategy comes first Making strategy works Public Sector Management Quality Award (PMQA))
Total Quality Management Leadership Information & Analysis Strategy Deployment HR Focus Business Results Process Management Customer & Market Focus Enablers Achievement
Quality Performance / Organizational Excellence รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 • Deming Prize • Canada Award • Australian Business Excellence Awards • European Foundation Quality Management • Singapore Quality Award • Japan Quality Award • MBNQA : Education and Healthcare • Thailand Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award
Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework Organizational Profile: Environment, Relationships, and Challenges 2 Strategic Planning 5 Human Resource Focus 7 Business Results 1 Leadership 6 Process Management 3 Customer& Market Focus 4 Information, Analysis, and Knowledge Management Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐลักษณะสำคัญของเกณฑ์คุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ • เกณฑ์มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ • เกณฑ์สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงาน เพื่อเสริมสร้างให้ส่วนราชการทำการปรับปรุงทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไปและอย่างก้าวกระโดด • เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการ บูรณาการ เชื่อมโยงและใช้ตัวชี้วัดที่มาจากยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และกระบวนการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดำเนินการโดยรวม และระหว่างหัวข้อต่าง ๆ ในเกณฑ์
วัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวัตถุประสงค์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐให้สอดคล้องกับ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล • เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ
คำรับรองการปฏิบัติราชการคำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนา องค์กร คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคคล (Competency) ระบบควบคุมภายใน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ Blueprint for Change 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ Redesign Process การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Capacity Building 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Knowledge Management e-government GIS / MIS MOC / POC เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) No ได้รับรายงานป้อนกลับ ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ สมัครเข้ารับรางวัล PMQA
องค์ประกอบของเกณฑ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร 2 ข้อ เช่น: หมวด 1 การนำองค์กร 7 หมวด 19 หัวข้อ 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 30 ประเด็น ที่ควรพิจารณา ก. การกำหนดทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การควบคุมดูแลให้มีการจัดการภายในที่ดี ค. การทบทวนผล การดำเนินการขององค์กร 90 คำถาม (1) (2)
ประเภทคำถาม : อะไร / อย่างไร คำถาม เปรียบเสมือนข้อชี้แนะให้พิจารณาในการปฎิบัติงาน อะไร (WHAT) • ผล แผนงาน เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ หรือตัวชี้วัดที่สำคัญ • กระบวนการที่สำคัญและวิธีปฏิบัติงาน อย่างไร (HOW) • ให้ข้อมูลของกระบวนการที่สำคัญ เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ การถ่ายทอด การเรียนรู้ และการบูรณาการ
ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ • บทบาทหน้าที่ • วิสัยทัศน์ ค่านิยม • ลักษณะโดยรวมของ บุคคลากร • เทคโนโลยีและ อุปกรณ์ • แนวทางการ • ปรับปรุงผล • การดำเนินการ • แนวทางการ • เรียนรู้ขององค์กร • การกำกับดูแลตนเอง • ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย • สภาพการแข่งขัน ภายในและภายนอก • ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ ความสำเร็จ • ข้อมูลการเปรียบเทียบ • ความท้าทายตาม ภารกิจ • ความท้าทายด้าน ทรัพยากรบุคคล
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจประเมินการดำเนินการของส่วนราชการในประเด็นต่าง ๆ ตามหมวดของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทำให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงกระบวนการของส่วนราชการ นำไปสู่การยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่อไป 7 หมวด ได้แก่ • หมวด 1 การนำองค์กร • หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • หมวด 6 การจัดการกระบวนการ • หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม ทิศทาง ผลการ ดำเนินการที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศการให้อำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • การวัดและการตรวจติดตาม การมีจริยธรรม องค์กร • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • ความรับผิดชอบ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • การทบทวน ผลการดำเนินการ • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการ • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การดำเนินการต่อความกังวลของสาธารณะ • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การจัดทำ แผนปฏิบัติการและ การนำแผนไปปฏิบัติ • การจัดทำแผนปฎิบัติการ การนำแผนไปปฎิบัติ รวมทั้งการจัดสรรทรัพยากร • การตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • การคาดการณ์ผลการดำเนินการ • เกณฑ์เปรียบเทียบ ที่สำคัญต่างๆ • เป้าประสงค์เชิงยุทธ-ศาสตร์และกรอบเวลา ในการบรรลุ • ความสมดุลระหว่างความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด • การวางแผนยุทธ-ศาสตร์และกลยุทธ์ • การนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวางแผน
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การกำหนดกลุ่มผู้รับบริการ • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการของผู้รับบริการ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ข. การจัดการ ความรู้ • การเลือกการรวบรวม ข้อมูลและสารสนเทศ ที่สอดคล้อง และ บูรณาการ • การเลือกและการใช้ ข้อมูลสารสนเทศ เชิงเปรียบเทียบ • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลการดำเนิน-การและแผนเชิงกลยุทธ์ • การสื่อผลการวิเคราะห์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • การทำให้ข้อมูลและ สารสนเทศพร้อมใช้งาน • การเปิดเผยข้อมูลและ สารสนเทศ • ฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์ มีความเชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • การจัดการความรู้ • การทำให้มั่นใจว่า ข้อมูลและสารสนเทศ ถูกต้อง ทันการณ์ เชื่อถือได้ ปลอดภัย แม่นยำ และเป็นความลับ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบบริหารงานบุคคล 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจของบุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • การนำความคิดที่หลากหลายมาใช้ในระบบงาน • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้างการสืบทอดตำแหน่ง • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ก. การศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน
ส่วนงาน ก ส่วนงาน ข ส่วนงาน ค ส่วนงาน ง ส่วนงาน ฉ ส่วนงาน จ การถ่ายทอดความต้องการของลูกค้า/ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผล 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) • ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ • ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย • ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน
Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Advanced Self-assessment (SA) Implemented Tools Improvement Plan Implemented Tools Self-assessment (SA) Improvement Plan PMQA Strategic Planning KPI & BSC Benchmarking BPR / Risk Management ABM JIT TPM 6 Sigma ABC IE SM DOE COQ 7 Waste OEE SQC Problem Solving / 7 QC Tools Waste Assessment 5S. QCC Suggestion System Visual Control / / / ISO 9000 / Score (Maturity of Management system) Management Tools PMQA 700 Mature 500 User 300 Entry 100 Time
เครื่องมือบริหารจัดการ (Tools) หมวด 1Change Management หมวด 2Balanced Scorecard หมวด 3Customer Relation Management หมวด 4Benchmarking / Knowledge Management หมวด 5Competency หมวด 6Reengineering / 6 sigma / KAIZEN หมวด 7Management Cockpit
ระบบการให้คะแนน การประเมินในสองมิติ กระบวนการ และผลลัพธ์
มิติ กระบวนการ • “กระบวนการ’’หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I)
มิติ ผลลัพธ์ ปัจจัย 4 ประการที่ใช้ประเมินผลลัพธ์ประกอบด้วย • ระดับของผลการดำเนินการปัจจุบัน • อัตราการเปลี่ยนแปลง (เช่น แนวโน้มของข้อมูล) และความครอบคลุม (เช่น การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติและการแบ่งปันอย่างกว้างขวาง) ของการปรับปรุงผลการดำเนินการ • ผลการดำเนินการของส่วนราชการเปรียบเทียบกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม • การเชื่อมโยงของตัววัดผลต่างๆ (มักแสดงผลตามกลุ่มที่จำแนกไว้) กับผลการดำเนินการด้านผลผลิตและบริการ ผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญๆ ที่ได้ระบุไว้ใน “ลักษณะสำคัญขององค์กร” และในหัวข้อกระบวนการต่าง ๆ (ในหมวด 1 - 6)
ขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเองขั้นตอนการประเมินองค์กรด้วยตนเอง มีความรู้ความเข้าใจในเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ขั้นตอนที่ 1 กำหนด ขอบเขต การประเมิน ขั้นตอนที่ 5 ฝึกประเมิน องค์กร ด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่ม ผู้ทำหน้าที่ ประเมิน ขั้นตอนที่ 3 กำหนดแผน การประเมิน ขั้นตอนที่ 4 จัดทำ “ลักษณะสำคัญ ขององค์กร” ขั้นตอนที่ 10 ประเมิน และปรับปรุง กระบวนการ ขั้นตอนที่ 9 จัดทำแผน ปรับปรุงแก้ไข ตามลำดับ ความสำคัญ ขั้นตอนที่ 8 วิเคราะห์ โอกาสในการ ปรับปรุง และจัดลำดับ ขั้นตอนที่ 7 ดำเนินการ ประเมิน ขั้นตอนที่ 6 จัดตั้งทีมงาน ประเมิน ในแต่ละหัวข้อ ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขตามแผนการปรับปรุง
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) 0% หรือ 5% • ไม่มีแนวทางอย่างเป็นระบบ มีสารสนเทศน้อย และไม่ชัดเจน (A) • ไม่มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ หรือมีเพียงเล็กน้อย (D) • ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง มีการปรับปรุงเมื่อเกิดปัญหา (L) • ไม่แสดงให้เห็นว่ามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันในระดับองค์กร แต่ละพื้นที่หรือหน่วยงานดำเนินการ อย่างเอกเทศ (I)
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) 10%, 15%, 20% หรือ 25% • แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีแนวทางอย่างเป็นระบบที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (A) • มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติเพียงแค่ ในขั้นเริ่มต้นในเกือบทุกพื้นที่หรือหน่วยงาน ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการบรรลุข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (D) • แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากการตั้งรับปัญหามาเป็นแนวคิดในการปรับปรุงทั่ว ๆ ไป (L) • มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับพื้นที่ หรือหน่วยงานอื่น โดยส่วนใหญ่เกิดจากการร่วมกัน แก้ปัญหา (I)
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) 30%, 35%, 40% หรือ 45% • แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดพื้นฐานของหัวข้อ (A) • มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ ถึงแม้ว่า บางพื้นที่หรือบางหน่วยงานเพิ่งอยู่ในขั้นเริ่มต้น (D) • แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีแนวทางอย่างเป็นระบบ ในการประเมินและปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญ (L) • เริ่มมีแนวทางที่สอดคล้องไปแนวทางเดียวกัน ความต้องการพื้นฐานขององค์กรตามที่ระบุไว้ ในเกณฑ์หมวดอื่นๆ (I)
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) 50%, 55%, 60% หรือ 65% • แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อ (A) • มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติเป็นอย่างดี ถึงแม้ว่าอาจแตกต่างกันในบางพื้นที่หรือบางหน่วยงาน (D) • มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบ โดยใช้ข้อมูลจริง และเริ่มมีการใช้การเรียนรู้ในระดับ องค์กรไปปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของกระบวนการที่สำคัญ (L) • มีแนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกับความต้องการขององค์กร ตามที่ระบุไว้ในเกณฑ์ในหมวดอื่นๆ (I)
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) • แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผลที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อ (A) • มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติเป็นอย่างดี โดยไม่มีความแตกต่างที่สำคัญ (D) • มีการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลจริงและมีการใช้การเรียนรู้ในระดับองค์กรเป็นเครื่องมือ ที่สำคัญในการจัดการ มีการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน ว่าการวิเคราะห์และการแบ่งปันความรู้ในระดับองค์กร ส่งผลต่อการปรับปรุงให้ดีขึ้นและการสร้างนวัตกรรม (L) • มีแนวทางที่บูรณาการกับความต้องการของส่วนราชการ ตามที่ระบุไว้ในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) 70%, 75%, 80% หรือ 85%
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 1-6 คะแนน กระบวนการ (A – D – L – I) • แสดงให้เห็นว่ามีแนวทางอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิผล ที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้ออย่างสมบูรณ์ (A) • มีการนำแนวทางไปถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยไม่มีจุดอ่อนหรือความแตกต่างที่สำคัญในพื้นที่ หรือหน่วยงานใด ๆ (D) • มีกระบวนการประเมินและปรับปรุงอย่างเป็นระบบ โดยใช้ข้อมูลจริง และมีการใช้การเรียนรู้ในระดับองค์กร เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการทั่วทั้งส่วนราชการ มีการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการวิเคราะห์และการแบ่งปัน ความรู้ในระดับองค์กรผลักดันให้เกิดการปรับปรุงให้ดีขึ้นและการสร้างนวัตกรรมทั่วทั้งส่วนราชการ (L) • มีแนวทางที่บูรณาการกับความต้องการของส่วนราชการ เป็นอย่างดี ตามที่ระบุไว้ในเกณฑ์หัวข้ออื่นๆ (I) 90%, 95% หรือ 100%
ผลลัพธ์ แนวทางการให้คะแนนของหมวด 7 คะแนน 0% หรือ 5% • ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ หรือมีผลลัพธ์ที่ไม่ดี ในเรื่องที่รายงานไว้ • ไม่มีการรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้ม หรือมีข้อมูล ที่แสดงแนวโน้มในทางลบ • ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ • ไม่มีการรายงานผลลัพธ์ในเรื่องที่มีความสำคัญ ต่อความต้องการที่สำคัญของส่วนราชการ
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 7 คะแนน ผลลัพธ์ • มีการรายงานผลลัพธ์ทางธุรกิจน้อยเรื่อง มีการปรับปรุงบ้าง และ/หรือ เริ่มมีระดับผลการดำเนินการที่ดีน้อยเรื่อง • ไม่มีการรายงานข้อมูลที่แสดงแนวโน้ม • ไม่มีการรายงานสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ • มีการรายงานผลลัพธ์น้อยเรื่องที่มีความสำคัญ ต่อความต้องการที่สำคัญของส่วนราชการ 10%, 15%, 20% หรือ 25%
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 7 คะแนน ผลลัพธ์ 30%, 35%, 40% หรือ 45% • มีการรายงานถึงการปรับปรุงต่างๆ และ/หรือ มีระดับผลการดำเนินการที่ดีในหลายเรื่อง ตามที่ระบุไว้ ในข้อกำหนดของหัวข้อ • แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีการพัฒนาของแนวโน้ม • แสดงให้เห็นว่าเริ่มมีสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบ • มีการรายงานผลลัพธ์ในหลายเรื่องที่มีความสำคัญ ต่อความต้องการที่สำคัญของส่วนราชการ
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 7 คะแนน ผลลัพธ์ • มีการรายงานถึงแนวโน้มของการปรับปรุง และ/หรือ มีระดับผลการดำเนินการที่ดีในเกือบทุกเรื่อง ตามที่ระบุไว้ในข้อกำหนดของหัวข้อ • ไม่มีลักษณะของแนวโน้มในทางลบ และไม่มีระดับ ผลการดำเนินการที่ไม่ดีในเรื่องที่มีความสำคัญ ต่อความต้องการทางธุรกิจที่สำคัญของส่วนราชการ • แนวโน้ม และ/หรือ ระดับผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องดีถึงดีมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียง • ผลลัพธ์ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และกระบวนการที่สำคัญ เป็นส่วนใหญ่ 50%, 55%, 60% หรือ 65%
แนวทางการให้คะแนนของหมวด 7 คะแนน ผลลัพธ์ 70%, 75%, 80% หรือ 85% • มีผลการดำเนินการในปัจจุบันที่ดีถึงดีเลิศในเรื่อง ที่มีความสำคัญของข้อกำหนดของหัวข้อเป็นส่วนใหญ่ • สามารถรักษาแนวโน้มการปรับปรุง และ/หรือ ระดับ ผลการดำเนินการในปัจจุบันไว้ได้เป็นส่วนใหญ่ • แนวโน้ม และ/หรือ ระดับผลการดำเนินการในปัจจุบันจำนวนมากหรือส่วนมากแสดงถึงความเป็นผู้นำและมี ผลการดำเนินการที่ดีมาก เมื่อเปรียบเทียบกับ ตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียง • ผลลัพธ์ตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการ และแผนปฏิบัติการที่สำคัญเป็นส่วนใหญ่