120 likes | 336 Views
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ. จัดทำโดย ด.ช. พงษ์ศธร วงค์ แปลก เลขที่ 8 ด.ญ. ขวัญฤดี เสาสมภพ เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูดนุภัค เชาว์ศรีกุล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำ เขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
E N D
โครงงานเทคโนโลยีเรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ จัดทำโดย ด.ช. พงษ์ศธรวงค์แปลก เลขที่ 8 ด.ญ. ขวัญฤดี เสาสมภพ เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูดนุภัค เชาว์ศรีกุล โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร บทเรียนออนไลน์ครูดนุภัค
1. กำหนดปัญหา 2. จุดมุ่งหมาย สำรวจพบหนอนที่แปลงผักคะน้าของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ ที่บ้าน เพื่อกำจัดศัตรู (หนอนผักคะน้า) เพื่อให้ผักคะน้าปลอดสารพิษ
3. การรวบรวมข้อมูล พวกเราได้รวบรวมข้อมูล ดังนี้ ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 1 ผักคะน้า 2 ศัตรูผักคะน้า 3 สมุนไพรกำจัดศัตรูผักคะน้า 4 วิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้า 2.สัมภาษณ์ผู้ปกครองเกี่ยวกับการกำจัดหนอนผักคะน้าและการทำน้ำหมักใบสะเดา
4. เลือกวิธีการแก้ปัญหา วิธีการกำจัดศัตรูพืช(หนอนผักคะน้า)มีหลายวิธีการ ได้แก่ น้ำหมักบอระเพ็ด น้ำส้มควันไม้ และน้ำหมักใบสะเดา พวกเราได้เลือกวิธีการกำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยน้ำหมักใบสะเดา เพราะ ใบสะเดาเป็นพืชในท้องถิ่น สามารถทำได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วนผสมหาง่าย
5. การปฏิบัติโครงงาน 1 อุปกรณ์ วิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา 1.โขลกใบสะเดาให้ละเอียดประมาณ 2 ขีด 2.นำไปหมักในน้ำสะอาด 1 ลิตร 3.หมักไว้ประมาณ 2 คืน 4.กรองเอากากทิ้งแล้วนำไปฉีดพ่น ตามความต้องการ 3 2 4 6 5
แบบบันทึกผลการทำน้ำหมักใบสะเดาแบบบันทึกผลการทำน้ำหมักใบสะเดา
6. ทดสอบ แบบบันทึกผลการทดลองการใช้น้ำหมักใบสะเดาในการกำจัดศัตรูพืช
7.ปรับปรุงแก้ไข ในการทำน้ำหมักใบสะเดาครั้งแรกผู้ทดลองได้หั่นใบสะเดาแทนการโขลกพบว่าน้ำหมักใบสะเดามีสีใสเมื่อนำไปใช้ไม่สามารถกำจัดหนอนผักคะน้าได้ เพราะ การหั่นไม่สามารถทำให้น้ำในใบสะเดาออกจึงทำให้หนอนผักคะน้าไม่ตาย ผู้ทดลองจึงได้ไปศึกษาวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดาอีกครั้ง และได้เปลี่ยนจากการหั่นเป็นโขลกแทน ซึ่งพบว่าน้ำหมักใบสะเดาสามารถกำจัดหนอนผักคะน้าลดลงได้
8. ประเมินผล • พวกเราได้นำน้ำหมักใบสะเดาไปทดลองที่แปลงผักของ เด็กหญิง ขวัญฤดี เสาสมภพ เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผลปรากฏว่าแปลงผักคะน้ามีศัตรูพืชน้อยลงและรูบนใบผักคะน้าลดลง
การคำนวณต้นทุนผลการผลิตการคำนวณต้นทุนผลการผลิต
เสียงสะท้อนจากผู้เรียนเสียงสะท้อนจากผู้เรียน 1. ได้เรียนรู้กระบวนการทำโครงงานเทคโนโลยี 2. ได้นำความรู้จากห้องเรียนไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน 3. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทำให้เกิดความสามัคคี 4. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาผ่านการปฏิบัติจริงนอกห้องเรียน 5. ได้รู้จักวิธีการทำน้ำหมักใบสะเดา
บรรณานุกรม 1.http://kruprasar.net/index.php?option=com_content&task=view&id=74&Itemid=1 2.http://variety.teenee.com/foodforbrain/3523.html 3.http://www.uniloanonline.com/kana.html 4. http://forecast.doae.go.th/web/agrotis/319-animal-pests-of-agrotis/1110-spodoptera-litura.html