270 likes | 425 Views
“ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ”. ASEAN Economic Community. AEC. ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 20 มิถุนายน 2550 จัดโดยกระทรวงพาณิชย์. หัวข้อการบรรยาย. ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคการรวมตัวของอาเซียน
E N D
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ASEAN Economic Community AEC ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 20 มิถุนายน 2550 จัดโดยกระทรวงพาณิชย์
หัวข้อการบรรยาย ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคการรวมตัวของอาเซียน ส่วนที่ 3 ... ข้อเสนอแนะ ?
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.1 จากการลดภาษีศุลกากรที่เร็วขึ้น • ใช้ประโยชน์จากการลดภาษีศุลกากรเหลือร้อยละ 0 สำหรับสินค้า PIS (ผลิตภัณฑ์เกษตร / ประมง / ผลิตภัณฑ์ไม้ / ผลิตภัณฑ์ยาง / สิ่งทอ / ยานยนต์ / อิเล็กทรอนิกส์ / เทคโนโลยีสารสนเทศ / สาขาสุขภาพ) ซึ่งครอบคลุมจำนวน 4,273 รายการ และการลดภาษีศุลกากรเหลือร้อยละ 0 เป็นสัดส่วน 80% ของ CEPT IL ภายในวันที่ 1 มกราคม 2007 และ 100% ภายในวันที่ 1 มกราคม 2010 (ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว 10 รายการ ที่จะลดภาษีเหลือร้อยละ 5 ในปี 2010)
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ตัวอย่างสินค้าที่สมาชิกอาเซียนต่างลดภาษีให้กันเหลือ 0% ในปี 2550* * ในเบื้องต้น กรมศุลกากรอยู่ระหว่างดำเนินการออกประกาศ อย่างไรก็ดี การลดภาษีจะมีผลย้อนหลัง
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร ตัวอย่างสินค้าที่สมาชิกอาเซียนต่างลดภาษีให้กันเหลือ 0%ในปี 2553
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.2 จากกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าที่เปิดกว้างมากขึ้น • ปัจจุบันกฎฯ เดิมคือ มูลค่าเพิ่ม (Local Content) 40% ได้เพิ่มทางเลือกขึ้นอีก 1 เกณฑ์ คือ • Local Content 40% หรือ การเปลี่ยนพิกัดในระดับ 4 หลัก (CTH) • ตัวอย่างกลุ่มสินค้าที่จะได้ประโยชน์ได้แก่ ประมงแปรรูป เช่น ทูน่ากระป๋อง อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องรับโทรทัศน์ วงจรพิมพ์ และสิ่งทอ เป็นต้น
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร 1.3 จากการยกเลิกมาตรการทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non Tariff Barriers : NTBs) ระหว่างกัน
ตัวอย่าง NTBs ของสมาชิกอาเซียนที่ต้องยกเลิก 1 มกราคม 2008 ที่มา: aseansec.org กุมภาพันธ์ 2550
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.4 จากการจัดทำความตกลงยอมรับร่วม (MRA) • ลดอุปสรรคจากกฎระเบียบทางเทคนิค หรือ มาตรฐานบังคับของประเทศสมาชิกอื่นในอาเซียน • สินค้าที่ได้รับประโยชน์ในปัจจุบัน ได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นผลิตภัณฑ์ควบคุมหรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายมาตรฐานบังคับของแต่ละประเทศ สภาพใหม่ ใช้ไฟฟ้าแรงดันต่ำ ไม่ครอบคลุมบริภัณฑ์โทรคมนาคมและบริภัณฑ์ทางการแพทย์ ส่วนสินค้าอื่นๆ ที่อยู่ระหว่างการดำเนินการได้แก่ กลุ่มสินค้าสุขภาพ (เครื่องมือแพทย์ ยาพื้นบ้าน และผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ)
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.5 จากการปรับประสานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ • ซึ่งควรจะรวมเรื่องสินค้าเกษตร (ตอนที่ 1-15) ด้วย ไม่ใช่พูดถึงแต่อาหาร (ตอนที่ 16-24) ภายใต้กรอบ TBT
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.6 จากการอำนวยความสะดวกด้านพิธีการศุลกากร • กำหนดให้สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศจัดตั้ง National Single Window ให้แล้วเสร็จภายในปี 2008 และ ประเทศ CLMV ภายในปี 2012 เพื่อเชื่อมต่อเป็น ASEAN Single Windowต่อไป • ถ้าเป็นไปได้ ควรมี ASEAN Single Inspection Service ด้วย
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.7 จากการเป็นพันธมิตรร่วมในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค • ACMECS(ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง) • ประเทศไทยให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้าน ด้วยการเข้าไปลงทุนผลิตสินค้าเกษตรที่ขาดแคลน และการชักจูงประเทศที่สามเข้าร่วมในการพัฒนา
ส่วนที่ 1 ... ภาคเอกชนจะใช้ประโยชน์จาก AEC อย่างไร • 1.7 จากการเป็นพันธมิตรร่วมในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาค ... (ต่อ) • ตัวอย่างการเจรจาต่อรองกับ EU สำหรับสินค้าทูน่ากระป๋อง • EU ให้สิทธิประโยชน์สินค้าปลาทูน่ากระป๋องแก่กลุ่ม ACP (African Caribbean and Pacific)โดยกำหนดภาษีนำเข้าเป็น 0% ส่วนสมาชิก WTO เป็น 24% สำหรับอาเซียนรวมทั้งไทยได้รับชดเชยในรูปโควตาภาษี 12% เป็นเวลา 5 ปี • (1 กค. 2003 - 30 มิถุนายน 2008) ปริมาณโควตา 25, 750 ตัน (ไทยได้ 52% หรือ 13,390 ตัน)
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน • อาเซียน - จีน • อาเซียน - อินเดีย • อาเซียน – CER(AUS-NZ) • อาเซียน - เกาหลี • อาเซียน - ญี่ปุ่น • อาเซียน - EU
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.1 การที่อาเซียนแต่ละประเทศแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เอกภาพของอาเซียนน้อยลงไปทุกที FTA 2 ฝ่ายของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ (ริเริ่ม ศึกษา ทาบทาม เจรจา ลงนาม)
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.2การที่อาเซียนแต่ละประเทศต่างแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เกิดการแข่งขันกันเองในตลาดที่สาม ตัวอย่าง การลดภาษีจากการทำ FTA กับญี่ปุ่น
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.2การที่อาเซียนแต่ละประเทศต่างแยกไปเจรจา FTA กับประเทศต่างๆ ทำให้เกิดการแข่งขันกันเองในตลาดที่สาม ... (ต่อ) • อาเซียน 9 ประเทศ ยกเว้นไทย ลงนามความตกลง FTA กับเกาหลี • มาเลเซีย สิงคโปร์ ลดภาษีแล้วตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2550 • อินโดนีเซีย พม่า อยู่ระหว่างรออนุมัติ จากรัฐมนตรีคลัง • แต่จะมีผลใช้บังคับย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน2550 • ประเทศอื่นๆ อยู่ระหว่างดำเนินการภายใน
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.1 ตัวอย่างสินค้า TH VT SG
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ TH VT ไทยมีกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นทางและภาระการรับซื้อวัตถุดิบจากเกษตรกร ส่วนอาเซียนอื่นมีกระบวนการผลิตปลายทาง การเปิดโอกาสนำเข้าน้ำมันดิบมากลั่น ไทยจะเสียเปรียบเรื่องต้นทุนและ การบริหารการนำเข้าพืชน้ำมันจะประสบปัญหา
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ ... (ต่อ) • ไทยมีวัตถุดิบบางชนิดในประเทศ เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง จึงทำให้สามารถทำได้ 40% • ภาษีวัตถุดิบนำเข้าของไทยสูงกว่าอาเซียนอื่น อาทิ ถั่วเหลือง กากน้ำมันต่างๆ ปลาป่น ภาษีอยู่ระหว่าง 5-35% เป็นต้น ถ้ายอมให้การนำเข้าวัตถุดิบทุกชนิดมาผลิตแล้วได้แหล่งกำเนิด ต้นทุนการผลิตไทย จะสูงกว่า แข่งขันในตลาดไม่ได้
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.3ข้อเสนอการจัดทำกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามีความแตกต่างกัน 2.3.2 สินค้าที่ไทยอาจได้รับผลกระทบ ... (ต่อ) การใช้เกณฑ์ CTH จะเป็นการเปิดโอกาสให้นำเข้าวัตถุดิบนอกภูมิภาคอาเซียนมาผลิต ซึ่งต่างกับการใช้ 40% ซึ่งจะช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเนื่องในภูมิภาคให้แข็งแกร่ง
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน • 2.4 ภาษีที่สมาชิกเรียกเก็บจากประเทศภายนอกกลุ่มมีความแตกต่างกัน • ดังนั้นมีหลายรายการสินค้าของไทยที่มีความเสียเปรียบด้านต้นทุน เนื่องจากภาษีนำเข้าวัตถุดิบของไทยจากประเทศนอกกลุ่มสูงกว่าประเทศสมาชิกอื่นๆ ในอาเซียน • ต.ย. สินค้า เช่น • กากน้ำมันต่างๆ สำหรับผลิตอาหารสัตว์ • เมล็ดโกโก้ สำหรับผลิตผงโกโก้
10% WTO 10% 10% 0% 2015 0% 5% 5% 15% 0%
ส่วนที่ 2 ... อุปสรรคที่ท้าทายต่อการรวมตัวของอาเซียน 2.4 ภาษีที่สมาชิกเรียกเก็บจากประเทศภายนอกกลุ่มมีความแตกต่างกัน
ส่วนที่ 3 ... ข้อเสนอแนะ • แต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนควรมีการทบทวนประเด็นต่างๆ ในกรอบ FTA ของตนเอง (Bilateral) อาทิ การลดภาษี หรือ กฎแหล่งกำเนิดสินค้า และใช้โอกาสการเจรจากรอบอาเซียน FTA เพื่อให้มีกำลังต่อรองในการผลักดันประเด็นที่แต่ละประเทศไม่ได้ประโยชน์เต็มที่ในกรอบ Bilateral • มาตรการรองรับผลกระทบจากการค้าระหว่างอาเซียนด้วยกัน