1 / 38

เศรษฐกิจมหภาคของไทย

เศรษฐกิจมหภาคของไทย. รศ.ดร.ปราการ อาภาศิลป์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หัวข้อที่บรรยาย. 1. กรอบการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ 2. การจัดทำรายได้ประชาชาติ 3. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ 4. โครงสร้างของงบประมาณและการชดเชย งบประมาณขาดดุล.

Download Presentation

เศรษฐกิจมหภาคของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐกิจมหภาคของไทย รศ.ดร.ปราการ อาภาศิลป์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. หัวข้อที่บรรยาย 1.กรอบการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ 2. การจัดทำรายได้ประชาชาติ 3.มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ 4. โครงสร้างของงบประมาณและการชดเชย งบประมาณขาดดุล

  3. 1. กรอบการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ

  4. รายจ่าย 1,000,000 บาท ผลผลิต ครัวเรือน หน่วยผลิต แรงงาน รายได้ (ค่าแรง) 1,000,000 บาท แบบจำลองการหมุนเวียนของรายได้และการใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ • กรณีที่ 1 : ครัวเรือนและหน่วยผลิต รายได้ (Y) = รายจ่าย (E) 1,000,000 = 1,000,000

  5. รายได้ 1,000,000 บาท ครัวเรือน หน่วยผลิต ค่าใช้จ่ายการบริโภค 750,000 บาท เงินออม เงินลงทุน (250,000 บาท) สถาบันการเงิน 250,000 บาท • กรณีที่ 2 : ครัวเรือน สถาบันการเงินและหน่วยผลิต รายได้ (Y) = รายจ่าย (E) = การบริโภค (C) + การลงทุน (I) 1,000,000 = 750,000 + 250,000

  6. รายได้ 1,000,000 บาท ครัวเรือน หน่วยผลิต ค่าใช้จ่ายการบริโภค 700,000 บาท เงินออม เงินลงทุน (200,000 บาท) สถาบันการเงิน 200,000 บาท ภาษี 100,000 บาท บาทบาท การใช้จ่ายของรัฐ 100,000 บาท รัฐบาล • กรณีที่ 3 : ครัวเรือน รัฐบาล สถาบันการเงินและหน่วยผลิต รายได้ (Y) = รายจ่าย (E) = การบริโภค (C) + การลงทุน (I)+ การใช้จ่ายของรัฐ (G) 1,000,000 = 700,000 + 200,000 + 100,000 ถ้าภาษี (T) > รายจ่ายของรัฐ (G) => งบประมาณเกินดุล ภาษี (T) < รายจ่ายของรัฐ (G) => งบประมาณขาดดุล ภาษี (T) = รายจ่ายของรัฐ (G) => งบประมาณสมดุล

  7. รายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการรายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการ ระบบเศรษฐกิจ ในประเทศ รายจ่ายในการนำเข้าสินค้าและบริการ เงินลงทุนจากต่างประเทศทั้งการลงทุนทางตรง และการลงทุนทางการเงิน เงินลงทุนของไทยในต่างประเทศ ชำระเงินกู้และปล่อยเงินกู้ เงินกู้จากต่างประเทศ • กรณีที่ 4 : มีการค้าระหว่างประเทศ รายได้ (Y) = รายจ่าย (E) = การบริโภค (C) + การลงทุน (I) + การใช้จ่ายของรัฐ (G) + การส่งออก (X) – การนำเข้า (M)

  8. 2. การจัดทำรายได้ประชาชาติ

  9. รายได้ประชาชาติ จัดทำได้ 3 ด้าน คือ 1.ด้านการผลิตคือมูลค่าผลผลิตสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายของประเทศ หรือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Products หรือ GDP) Y (GDP) = FINAL PRODUCTS (goods & services) 2.ด้านรายจ่าย คือ มูลค่าการใช้จ่ายขั้นสุดท้ายของประเทศ (Gross Domestic Expenditure) Y (GDE) = C + I + G + (X- M) C = รายจ่ายอุปโภคบริโภคของครัวเรือน I = รายจ่ายลงทุนของเอกชนและรัฐบาล G= รายจ่ายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาล (X- M) = รายจ่ายสุทธิของการส่งออกและการนำเข้า 3. ด้านรายได้ คือ ผลตอบแทนแก่เจ้าของปัจจัยการผลิตขั้นปฐม Y (GNI) = CE + L + i +P CE = ค่าตอบแทนแรงงาน L = ค่าเช่าที่ดิน i= ดอกเบี้ย P = กำไร Property income

  10. วิธีการวัดรายได้ประชาชาติด้านการผลิต (Production approach) • ความหมาย : คือการวัดมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ในรอบระยะเวลาบัญชี (1 ปี หรือ 1 ไตรมาส) • จำแนกหมวดหมู่ : มาตรฐานประเภทอุตสาหกรรมของประเทศไทย (TSIC)ฉบับปี 2544 แบ่งเป็น 17 สาขาการผลิต 551 กิจกรรมการผลิต • วิธีการคำนวณ :ใช้วิธีการหามูลค่าเพิ่ม (value added) จากกิจกรรมการผลิตสินค้าและบริการทุกประเภทที่ดำเนินการในขอบเขตประเทศ VA = value added หรือมูลค่าเพิ่ม GO=gross output หรือ มูลค่าผลผลิตสินค้าหรือบริการชนิดที่ i IC = intermediate cost หรือค่าใช้จ่ายขั้นกลางในการผลิตสินค้าและบริการชนิดที่ i i = กิจกรรมการผลิตสินค้าหรือบริการ ที่ 1,2,3,...n j = สาขาการผลิตที่ 1,2,3…..16 VAi = GOi – ICi GDP = ∑VAij

  11. Supply & use ใช้เป็นวัตถุดิบ บริโภคโดยครัวเรือน ผลผลิตในประเทศ Intermediate use บริโภคโดยรัฐบาล Final use Total supply นำเข้า การลงทุน Go + M = IU + C + G + I + X GO – IU = C + G + I + (X- M) ส่งออก

  12. ความหมายของมูลค่าเพิ่ม (value added) • ต้นทุนซื้อสินค้าและ • ค่าบริการที่นำมาใช้ • ในกิจกรรมการผลิต • - ค่าวัตถุดิบ • -ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง (Intermediate cost : IC) มูลค่า การผลิต (Gross Output : GO) มูลค่าเพิ่ม (Value added : VA) • ค่าจ้างแรงงาน • ค่าเช่าที่ดิน • ดอกเบี้ย • กำไร : VA = GO - IC

  13. มูลค่าสินค้าขั้นสุดท้าย = ผลรวมของมูลค่าเพิ่ม

  14. ความหมายของการวัด GDP GDPคือ มูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายของประเทศ ผลรวมมูลค่าเพิ่มจากกิจกรรมการผลิตทุกชนิด รายได้ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต ขั้นปฐม • ค่าตอบแทนแรงงาน • ค่าเช่าที่ดิน • ดอกเบี้ย • กำไรจากการประกอบการ

  15. การวัดมูลค่าการผลิต (Gross output : GO)

  16. 01111 การผลิตข้าว ตัวอย่างการคำนวณมูลค่าเพิ่ม กิจกรรม market output ในราคาประจำปีและราคาคงที่ (1)

  17. 55101บริการโรงแรม ตัวอย่างการคำนวณมูลค่าเพิ่ม กิจกรรม market output ในราคาประจำปีและราคาคงที่ (2)

  18. 75111 การบริหารราชการ ตัวอย่างการคำนวณมูลค่าเพิ่มกิจกรรม Non Market output ในราคาตลาดประจำปี และราคาคงที่

  19. เปรียบเทียบวิธีการวัดรายได้ประชาชาติ ทั้ง 3 ด้าน

  20. สมดุลทางด้านอุปสงค์ภายในประเทศและอุปทานภายในประเทศ ณ ราคาประจำปี หน่วย : ล้านบาท

  21. แหล่งที่มาของอัตราการขยายตัวผลิตภัณฑ์มวลรวมราคาคงที่ (ปีฐาน 2531) หน่วย : ร้อยละ

  22. 3. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ

  23. 3.1 มาตรการทางการคลัง: กระทรวงการคลัง 3.2 มาตรการทางการเงิน: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  24. การบริโภค ภาคเอกชน มาตรการด้านรายได้ รายได้ประชาชน รายได้ภาคธุรกิจ การลงทุนภาคเอกชน การจ้างงาน 3.1 กลไกการส่งผ่านมาตรการทางด้านการคลังของกระทรวงการคลังไปสู่ภาคเศรษฐกิจ ก. กลไกการส่งผ่านมาตรการด้านรายได้สู่ระบบเศรษฐกิจ มาตรการด้านรายได้ เช่น - การขยายวงเงินได้พึ่งประเมินขั้นต่ำที่คำนวณภาษี - ลดภาษีเงินได้นิติบุคคล

  25. รายได้ประชาชน การบริโภคภาคเอกชน มาตรการด้านรายจ่าย เช่น การประกันราคาข้าว โครงการ ลงทุนด้านเครือข่ายคมนาคม การบริโภคภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน การลงทุนภาครัฐ การจ้างงาน ข. กลไกการส่งผ่านมาตรการด้านรายจ่ายสู่ระบบเศรษฐกิจ

  26. มาตรการเพิ่มสินเชื่อ ให้แก่ภาคเอกชนผ่าน สถาบันการเงินของรัฐ การลงทุนภาคเอกชน การจ้างงาน การบริโภคภาคเอกชน ค. กลไกการส่งผ่านมาตรการเพิ่มสินเชื่อให้แก่ภาคเอกชนผ่านสถาบันการเงินของรัฐสู่ระบบเศรษฐกิจ

  27. 3.2 กลไกส่งผ่านมาตรการด้านการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทยไปสู่ภาคเศรษฐกิจ ก. มาตรการทางการเงินผ่านอัตราดอกเบี้ยนโยบาย การบริโภค ภาคเอกชน ต้นทุนการบริโภค การลงทุน ภาคเอกชน ปรับลดอัตรา ดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ย ในตลาดเงิน ต้นทุนการลงทุน อัตราดอกเบี้ยในประเทศ ต่ำกว่าต่างประเทศ เงินทุนไหลออก การส่งออก การนำเข้า ค่าเงินบาทอ่อน

  28. การเข้าแทรกแซง ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน การส่งออก และนำเข้า ค่าเงินบาท ข. มาตรการทางการเงินผ่านอัตราแลกเปลี่ยน

  29. 4. โครงสร้างงบประมาณและการชดเชยงบประมาณขาดดุล

  30. 4.1 โครงสร้างงบประมาณ - รายจ่ายประจำ - รายจ่ายลงทุน - รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้

  31. โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2556 - 2557 หน่วย : ล้านบาท

  32. โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2556 - 2557 หน่วย : ล้านบาท

  33. 4.2 การชดเชยงบประมาณขาดดุล 1. ออกพันธบัตรรัฐบาลโดยขายให้กับ - สถาบันการเงิน ภาคเอกชนและประชาชน - ธนาคารแห่งประเทศไทย - ต่างประเทศ 2. ขึ้นภาษี

  34. วินัยการคลังภายใต้พระราชบัญญัติหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ กู้เป็นเงินบาทไม่เกิน ร้อยละ 20 วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติม บวกกับ ร้อยละ 80 ของงบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้สำหรับชำระเงินต้น

  35. หนี้สาธารณะ ส่วนประกอบของหนี้สาธารณะ 1. หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ

  36. หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 เมษายน 2557 หน่วย: ล้านบาท

  37. หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 เมษายน 2557 หน่วย: ล้านบาท

  38. จ. สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ในช่วงปี 2556-2563 น้อยกว่า 50%

More Related