1 / 54

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์. อ.ป๊อบ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์. เชื้อเพลิงที่นำมาใช้มากที่สุด. น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน. เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์. สิ่งที่จะศึกษาในบทนี้. ถ่านหิน หินน้ำมัน ปิโตรเลียม. 1 . ถ่านหิน. องค์ประกอบหลักได้แก่ คาร์บอน

bryce
Download Presentation

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ อ.ป๊อบ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

  2. เชื้อเพลิงที่นำมาใช้มากที่สุดเชื้อเพลิงที่นำมาใช้มากที่สุด • น้ำมัน • แก๊สธรรมชาติ • ถ่านหิน เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ สิ่งที่จะศึกษาในบทนี้ • ถ่านหิน • หินน้ำมัน • ปิโตรเลียม

  3. 1. ถ่านหิน • องค์ประกอบหลักได้แก่ คาร์บอน • ธาตุอื่นๆ ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และ กำมะถัน การเกิดถ่านหิน ขาดหรือมีออก ออกซิเจนจำกัด สารถูกย่อยสลาย ให้มีโมเลกุลเล็กลง เป็นสารอินทรีย์ที่ มีคาร์บอนอยู่ประ มาณ 50 – 70% http://stloe.most.go.th/html/lo_index/LOcanada2/206/2_th.htm

  4. CO2สูง O2สูง ซากพืชยัง สลายตัวไม่หมด มีซากพืช เล็กน้อย มีเนื้ออ่อนร่วน และแข็ง มีเนื้อแน่น แข็งและเป็นมัน มีเนื้อแข็ง ใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิง สำหรับให้ความร้อน และใช้เพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้า ใช้เป็นแหล่งพลังงาน สำหรบผลิตกระแสไฟฟ้า และงานอุตสาหกรรม ใช้เป็นเชื้อเพลิงใน การถลุงโลหะ ใช้เป็นเชื้อเพลิงใน การถลุงโลหะ มีร้อยละ กำมะถันน้อย

  5. ปริมาณร้อยละของธาตุองค์ประกอบและความชื้นของถ่านหินชนิดต่างๆ เทียบกับไม้ พลังงานความร้อน

  6. การใช้ประโยชน์จากถ่านหินการใช้ประโยชน์จากถ่านหิน • แหล่งที่ผลิตมากที่สุดในประเทศไทยคือ แม่เมาะ จังหวัดลำปาง

  7. การใช้ประโยชน์จากถ่านหินการใช้ประโยชน์จากถ่านหิน เชื้อเพลิง ถ่านกัมมันต์ (Activated Carbon) - ดูดซับกลิ่นในเครื่องกรองน้ำ ทำคาร์บอนไฟเบอร์ - ทำอุปกรณ์กีฬา ถ่านหิน • ผลผลิตที่ได้จากการใช้ • CO2 / CO • NO2 • SO2 • ฝุ่นละออง ต้องกำจัด

  8. 2. หินน้ำมัน • เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียด เรียงตัวเป็นชั้นบางๆ มีสารประกอบอินทรีย์ที่สำคัญคือ เคอโรเจน • มี MW มากกว่า 3000 • ประกอบด้วย • C 64 – 89% • H 7.1 – 12.8% • N 0.1 – 3.1% • S 0.1 – 8.7% • O 0.8 – 24.8% สลายตัวให้น้ำมันหิน

  9. การเกิดหินน้ำมัน • การทับถมตัวของซากพืชพวกสาหร่ายและสัตว์พวกแมลง ปลา และสัตว์ตัวเล็ก ภาวะออกซิเจนจำกัด ที่อุณหภูมิสูง และความดัน เป็นเวลานาน • หินที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำมันจะคล้ายกับหินที่เป็นแหล่งกำเนิดปิโตรเลียม ต่างกันที่ปริมาณเคอโรเจน

  10. ส่วนประกอบที่สำคัญในหินน้ำมันส่วนประกอบที่สำคัญในหินน้ำมัน • มี 2 ประเภท • สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ที่ผุพังมาจากชั้นหินโดยกระบวนการทางกายภาพและเคมีประกอบด้วยแร่ที่สำคัญ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มแร่ซิลิเกต ได้แก่ควอตซ์ เฟลสปาร์ เคลย์ และกลุ่มแร่คาร์บอน • สารประกอบอินทรีย์ ประกอบด้วยบิทูเมนและ เคอโรเจน บิทูเมนละลายได้ในเบนซิน เฮกเซนและตัวทำลายอินทรีย์ชนิดอื่นๆ จึงแยกออกจากหินน้ำมันได้ง่าย ส่วนเคอโรเจนไม่ละลายในตัวทำลาย หินน้ำมันที่มีสารอินทรีย์ปริมาณสูงจัดเป็นหินน้ำมันคุณภาพดี

  11. การใช้ประโยชน์จากหินน้ำมันการใช้ประโยชน์จากหินน้ำมัน • หินน้ำมัน 1000 kg  น้ำมันหิน 100 ลิตร - ผลิตภัณฑ์ที่ได้ น้ำมันก๊าด น้ำมันตะเกียง พาราฟิน น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น ไข แนฟทา - ผลพลอยได้ แอมโมเนียมซัลเฟต

  12. 3. ปิโตรเลียม • "ปิโตรเลียม" เกิดจากภาษาละตินว่า "เพทรา" (Petra)  แปลว่า หิน และคำว่า "โอลิอุม" (Oleum) แปลว่า น้ำมัน รวมความแล้ว  ปิโตรเลียมจึงหมายถึง น้ำมันที่ได้มาจากหิน • สภานะ ของเหลว ได้แก่ น้ำมันดิบ ส่วนใหญ่เป็นพวก แอลแคน และไซ โคลแอลเคน แก๊ส ได้แก่ แก๊สธรรมชาติ ไฮโดรคาร์บอน C 1 ถึง 5 รวมถึง แก๊สธรรมชาติเหลว

  13. ปริมาณธาตุองค์ประกอบของน้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติปริมาณธาตุองค์ประกอบของน้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ

  14. การเกิดปิโตรเลียม • ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ เวลา + ความดัน + ความร้อนสูง + ปริมาณออกซิเจนจำกัด สลายตัวได้ แก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน

  15. การสำรวจปิโตรเลียม

  16. ผลการสำรวจ • ผลการสำรวจเป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อการขุดเจาะ • การขุดเจาะต้องวิเคราะห์ความคุ้มค่า • หากความดันสูงปิโตรเลียมจะไหลออกมาเอง • หากความดันต่ำต้องเพิ่มแรงดันจากภายนอก

  17. การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมการสำรวจแหล่งปิโตรเลียม • ประเทศไทยพบครั้งแรก ที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ในปี 2464 • จากการสำรวจทางบกและทะเลรวม 55 แหล่งพบว่า มีปริมาณสำรองที่ประเมินได้ • น้ำมันดิบ 806 ล้านบาร์เรล • แก๊สธรรมชาติ 32 ล้านลูกบาศก์ฟุต • แก๊สธรรมชาติเหลว 688 ล้านบาร์เรล 1 barrel = 42 แกลลอน = 158.987 ลิตร

  18. การกลั่นน้ำมันดิบ

  19. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม สมบัติ และการใช้ประโยชน์ 

  20. การปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุลการปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุล 1. กระบวนการแตกสลาย 2. กระบวนการรีฟอร์มมิง Cat. 500 OC C10H22 C8H12 + C2H6

  21. การปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุลการปรับปรุงโครงสร้างของโมเลกุล 3. กระบวนการแอลคิเลชัน 4. กระบวนการโอลิโกเมอไรเซชัน

  22. เลขออกเทน • ไอโซออกเทน เป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะสมกับเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซีน การระเบิดและจังหวะในกระบอกสูบเหมาะสม • เลขออกเทน เป็นตัวกำหนดคุณภาพน้ำมัน โดย น้ำมันเบนซีนที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโวออกเทนมีเลขออกเทนเป็น 100 ส่วนน้ำมันเบนซีนที่มีสมบัตืในการเผาไหม้เชนเดียวกับเฮปเทนโซ่ตรงมีเลขออกเทนเป็น 0 • ออกเทนเท่ากับ 95 มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมไอโซออกเทนร้อยละ 95 กับเฮปเทนร้อยละ 5

  23. การเพิ่มค่าออกเทน • เติมสาร (MTBE) น้ำมันไร้สารตะกั่ว

  24. เลขซีเทน • เป็นตัวบอกคุณภาพของน้ำมันดีเซล • กำหนด ซีเทน มีเลขซีเทนเท่ากับ 100 แอลฟาเมทิลแนฟทาลีนมีเลขซีเทนเท่ากับ 0 a-methylnapthalene

  25. พลังงานทดแทน • Biodesel ความหมาย เป็นเอสเตอร์ที่ผลิตจากน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ โดยผ่านกระบวนการ transesterification ไตรกลีเซอไรด์ เมทานอล เมทิลเอสเตอร์ กลีเซอรอล

  26. การแยกแก๊สธรรมชาติ

  27. ปิโตรเคมีภัณฑ์ • อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเบื้องต้น • นำสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากแก๊สหรือน้ำมันดิบมาผลิตสารโมเลกุลขนาดเล็ก “MONOMER” • อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่อง • นำ Monomer มาผลิต “POLYMER”

  28. พอลิเมอร์ Homopolymer เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน Copolymer (โคพอลิเมอร์หรือพอลิเมอร์ร่วม) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอ นอเมอร์ต่างชนิดกัน

  29. Polymerization • Condensation Polymerization เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมูฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่ทำปฏิกิริยากันเกิดเป็นพอลิเมอร์และได้สารโมเลกุลเล็ก เช่น น้ำ แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ แอมโมเนีย หรือ เมทานอลเป็นผลพลอยได้ เช่น พอลิเอททิลีนเทเรฟทาเรต พอลิเอไมด์ พอลิคาร์บอเนต พอลิยูรีเทน พอลิฟีนอลฟอร์มอลดีไฮด์ พอลิยูเรีย-ฟอร์มาลดีไฮด์ พอลิเมลามีน-ฟอร์มาลดีไฮด์ • Addition Polymerization เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีพันธะคู่ระหว่างคาร์บอนอะตอม ทำปฏิกิริยาเกิดเป็นพอลิเมอร์ เช่น พอลิเอทาลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไนนิลคลอไรด์ พอลิเตตระฟลูออโรเอทาลีน พอลิสไตรีน พอลีเมทิลเมทาคริเลท พอลิอะคริโรไนไตรด์

  30. Structure and Properties • พอลิเมอร์แบบเส้น • พอลิเมอร์แบบกิ่ง • พอลิเมอร์แบบร่างแห่ Thermoplastic Thermoset http://www.mech.utah.edu/~rusmeeha/labNotes/degPix/structure.gif

  31. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 1. Polyethylene terephthalate (PET) + Dimethyl terephthalate Ethylene glycol Thermoplastic สมบัติ: แข็ง ง่ายต่อการย้อมสี ทนความชื้น เหนียว ทนต่อการขัดถู การนำไปใช้: เส้นใย เอ็น เชือก ขวดน้ำอัดลม สารเคลือบรูปภาพ หินอ่อนเทียม แก้วเทียม เป็นต้น

  32. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 2. Polyamide (PA) Copolymer Homopolymer

  33. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 2. Polyamide (PA) (ต่อ) สมบัติ: เหนียว ผิวเรียบ ทำความสะอาดง่าย แห้งเร็ว ยืดหดได้ ทนต่อการขัดถู ทนต่อ การใช้งานนอกอาคาร การนำไปใช้: เชือก เส้นด้าย ถุงน่อง ชุดชั้นใน ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เช่น เฟือง เกียร์ ปลอกหุ้มสายไฟ เป็นต้น

  34. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 3. Polycarbonate (PC) สมบัติ: เหนียว ใส ทนความร้อน ทนแรงกระแทก ไม่ชื้นง่าย ติดไฟแล้วดับเอง การนำไปใช้: กล่องบรรจุเครื่องมือ เครื่องโทรศัพท์ ขวดนมเด็ก ภาชนะใสที่ใช้แทนเครื่องแก้ว เป็นต้น

  35. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 4. Polyurethane (PU)

  36. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 4. Polyurethane (PU) (ต่อ) สมบัติ: ยืดหยุ่น ทนการขีดข่วนได้ดี ทนต่อตัวทำละลาย ทนแรงกระแทก การนำไปใช้: เส้นใยชุดว่ายน้ำ ล้อรถเข็น น้ำยาเคลือบผิว โฟมบุเก้าอี้ เป็นต้น

  37. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 5. Polyphenolformaldehyde (PF) สมบัติ: แข็ง เปราะ ทนความร้อนที่อุณหภูมิสูง ทนสารเคมี เป็นฉนวนไฟฟ้า การนำไปใช้: กาว แผงวงจรไฟฟ้า เป็นต้น

  38. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบควบแน่น 6. Polyureaformaldehyde (UF) สมบัติ: แข็ง เปราะ ทนความร้อนที่อุณหภูมิสูง ทนสารเคมี การนำไปใช้: กาว แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กาว โฟม เป็นต้น 7. Polymelamineformaldehyde (MF) สมบัติ: ทนสารเคมี กันน้ำได้ดี การนำไปใช้: แผงวงจรเส้นใยผ้าเพื่อกันน้ำ หูหม้อ หูกระทะ ถ้วย จาน เป็นต้น

  39. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 1. Polyethylene (PE) • Low-density polyethylene (LDPE) • Linear low-density polyethylene (LLDPE) • High-density polyethylene (HDPE)

  40. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 1. Polyethylene (PE) (ต่อ) สมบัติ: ป้องกันการผ่านของไอน้ำได้ดีแต่ยอมให้อากาศผ่านเล็กน้อย เป็นแผ่นฟิล์มใส เหนียว ทนสารเคมี ทนกรด ทนเบส การนำไปใช้: ภาชนะบรรจุอาหาร ถุงพลาสติกชนิดใส่ของเย็น แผ่นพลาสติกบางที่ใช้หอผักและผลไม้ ถุงขยะ เครื่องใช้ในบ้าน ของเล่น ท่อน้ำ ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า เคลือบกล่องกระดาษใส่นม ถุงซิบใส่ยา เป็นต้น

  41. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 2. Polypropylene (PP) สมบัติ: คล้ายพอลิเอทิลีนแต่แข็งแรงกว่า เหนียวแข็งแรง ผิวเป็นมันวาว น้ำหนักเบา ทนต่อแรงดึง ไม่ว่องไวต่อสารเคมี ทนน้ำ การนำไปใช้: ภาชนะบรรจุสารเคมี เช่น หม้อแบตเตอรี่ หุ้มสายไฟฟ้า กระเป๋าเดินทาง พรม เชือก เครื่องมือแพทย์ เช่น ตัวกระบอกฉีดยาและเครื่องมือในห้องทดลอง ถุงน้ำร้อนชนิดขุ่น เป็นต้น

  42. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 3. Polyvinylchloride (PVC) สมบัติ: แข็งและคงรูป ทนต่อความชื้น ทนต่อสารเคมีแลการขัดถู ทนต่อการกัดแทะของแมลงและไม่เป็นเชื้อรา ไม่ทนความร้อนและแสง การนำไปใช้: กระเบื้องยางปูพื้น ท่อน้ำ หนังเทียม เสื้อกันฝน บัตรเครดิต แผ่นเสีง ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า เป็นต้น

  43. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 4. Polytetrafluoroethylene (PTFE = Teflon) สมบัติ: เหนียว ทนสารเคมีดีทุกช่วงอุณหภูมิ ทนความร้อนได้ดี ไม่นำไฟฟ้า ผิวลื่น ทนต่อแรงกระแทก การนำไปใช้: เคลือบผิวภาชนะหุงต้มเพื่อไม่ให้อาหารติดภาชนะ ฉนวนไฟฟ้า ปะเก็น วงแหวนลูกสูบและลูกปืนในเครื่องยนต์ เคลือบสาบเคเบิล สายไฟฟ้า

  44. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 5. Polystyrene (PS) สมบัติ: แข็งมากแต่เปราะ ไม่ทนต่อตัวทำละลายอินทรีย์แต่ทนต่อกรดและเบส ใส โปร่งแสง ผิวเรียบ ไม่นำไฟฟ้า การนำไปใช้: ภาชนะบรรจุสิ่งของที่ใช้แล้วทิ้ง ชิ้นส่วนของตู้เย็น เครื่องเรือน ตลับเทป กล่องใสใส่ขนม โฟมบรรจุอาหาร ฉนวนสำหรับกระติกน้ำร้อน น้ำเย็น วัสดุลอยน้ำ

  45. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 6. Polymethylmethacrylate (PMMA) สมบัติ: ใส โปร่งแสง ทนต่อแรงกระแทก ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ทนต่อการขีดขวนได้น้อยกว่าแก้ว การนำไปใช้: กระจกครอบไฟฟ้าท้ายรถยนต์ เลนส์แว่นตา เลนส์สัมผัส ไม้บรรทัดชนิดใส วัสดุทันตกรรม

  46. พอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติมพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาแบบเติม • 7. Polyacrylonitrile (PAN) สมบัติ: แข็ง เหนียว ทนต่อความชื้นสารเคมีและเชื้อรา ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ทนต่อการขีดข่วน การนำไปใช้: ผ้าโอรอน ด้ายสำหรับถักพรมถุงเท้า เสื้อผ้าเด็ก เสื้อกันหนาว

  47. ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ พลาสติก จำแนกตามกรรมวิธีการผลิตและการใช้งาน

  48. ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ เส้นใย จำแนกตามกรรมวิธีการผลิตและการใช้งาน

  49. ยาง ปริมาณเนื้อยางขึ้นอยู่กับ 1.พันธุ์ยาง 2. อายุยาง 3. ฤดูการกีดยาง

More Related