230 likes | 482 Views
การประสานแผน สำนัก EID – สคร. 22-23 กรกฏาคม 2551. งาน EID ของสำนักฯ. แผน EID ของสำนักฯ. สอดคล้อง / เสริมกัน. สอดคล้อง / เสริมกัน. สอดคล้อง / เสริมกัน. สอดคล้อง / เสริมกัน. งาน EID ของสคร. แผน EID ของสคร.ฯ. งาน EID ของหน่วยงาน พันธมิตร.
E N D
การประสานแผนสำนัก EID –สคร. 22-23 กรกฏาคม 2551
งาน EID ของสำนักฯ แผน EID ของสำนักฯ สอดคล้อง / เสริมกัน สอดคล้อง / เสริมกัน สอดคล้อง / เสริมกัน สอดคล้อง / เสริมกัน งาน EID ของสคร. แผน EID ของสคร.ฯ งาน EID ของหน่วยงาน พันธมิตร แผน EID ของหน่วยงานพันธมิตร • กรอบความคิดร่วมกัน • EID คืออะไร • สถานการณ์ปัญหา EID • กลุ่มเป้าหมายงาน EID • สถานการณ์เครื่องมือ • SWOT หน่วยงาน บุคลากร • กลยุทธ/ ยุทธศาสตร์ • กระบวนการทำงาน (PPO) • การพัฒนาศักยภาพ • อื่นๆ
กรอบความคิดร่วมโรคติดต่ออุบัติใหม่ (EIDs) คืออะไร โรคติดต่อที่มีอุบัติการณ์ในมนุษย์เพิ่มสูงขึ้นมากในช่วงที่เพิ่งผ่านมา หรือมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล้ • โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อใหม่ (new infectious diseases) • โรคติดต่อที่พบในพื้นที่ใหม่ (new geographical areas) • โรคติดต่ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious diseases) • โรคติดต่อที่เคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไปนานแล้ว แต่กลับมาระบาดอีก • เชื้อโรคดื้อยา (Antimicrobial resistant organisms) • อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) • อื่น ๆ
โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ พ.ศ.2539– 2547 Viruses/prions Ebola and CCHF Influenza H5N1 Lassa fever Monkey pox BSE Rift Valley Fever SARS CoV VEE West Nile Hendra/Nipah rabies Parasites and Bacteria Cryptosporidiosis Leptospirosis Lyme Borreliosis Brucellosis E Coli O157 Multidrug resistant Salmonella Plague WHO
กรอบความคิดร่วมสถานการณ์ปัญหา/ความเสี่ยง EIDs ของไทย ควรวิเคราะห์ ปัญหา EID ซึ่งอาจแตกต่างกัน ในระหว่างภาค / เขต / จังหวัด / พื้นที่ / ประชากรกลุ่มต่าง
สื่อมวลชน เอกชนธุรกิจ โรงพยาบาล คลีนิก องค์กรระหว่าง ประเทศ เช่น WHO, FAO, OIE, UNICEF, ประเทศเพื่อนบ้าน มาเลเซีย กัมพูชา ลาว พม่า กระทรวงอื่นๆ ตำรวจ โรงเรียน สถานศึกษา กองทัพ NGOs นำผู้ชุมชน อาสาสัคร หน่วยงาน ความมันคง รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ ท้องถิ่น อปท องค์กรสาธารณประโยชน์ เวทีระดับภูมิภาค เช่น ASEAN, APEC, ACMECS, MBDS, SAARC นานาชาติ ชุมชน / ประชาชน กรอบความคิดร่วมกลุ่มเป้าหมายงาน EIDs กรม คร. (ส่วนกลาง สคร) กรมอื่น (อ พ ว จ สบส อย) (ส่วนกลาง ภูมิภาค) สป & สสจ. 76 จว.
กรอบความคิดร่วมสถานการณ์เครื่องมือในงาน EIDs(ตัวอย่าง)
กรอบความคิดร่วมSWOT หน่วยงาน / บุคลากรงาน EIDs (1)
กรอบความคิดร่วมSWOT หน่วยงาน / บุคลากรงาน EIDs (2)
กรอบความคิดร่วมกลยุทธ/ยุทธศาสตร์การทำงาน EIDs (1) • โรคที่จัดเป็น EID จะมีฐานะเป็นโรคใหม่ (Emerging diseases) เพียงในระยะแรก ต่อจากนั้นจะกลายเป็นโรคที่รู้จักแล้ว (known diseases) • ระบบงาน EID ควรเน้นการจัดการโรคที่ถือเป็น EID ในระยะต้นของวงจรการจัดการ -- ตั้งแต่เตรียมความพร้อม –การเฝ้าระวังการเกิดโรค -ประสานการควบคุมโรคฉุกเฉิน ต่อจากนั้นต้องประสานส่งต่อให้กับระบบงานป้องกันควบคุมตามปกติ เพื่อดูแลต่อไปในระยะยาว • ไม่ควรสร้างระบบงานป้องกันควบคุม EID โดยเฉพาะ แต่ต้องใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐาน ระบบงาน และเครื่องมือที่มีอยู่ (พยายามต่อยอด ขยันบูรณาการ เลี่ยงการทำงานซ้ำซ้อน)
กรอบความคิดร่วมกลยุทธ/ยุทธศาสตร์การทำงาน EIDs (2) • แนวทางหลักของงาน EID คือ เสริมความเข้มแข็งของระบบงาน และเครื่องมือป้องกันควบคุมโรคที่มีอยู่ เพื่อให้สามารถจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อปัญหาใหม่ หรือปัญหาเก่าที่ขยายตัว • โรคที่จัดเป็น EID ไม่ได้เป็นภารกิจ (สมบัติ) ของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ แต่เป็นภารกิจร่วม ของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง (พันธมิตร) • หน่วยงานพันธมิตรสาขาต่างๆ – ภาคส่วนต่างๆระดับต่างๆ มีบทบาทภารกิจเฉพาะด้านของตน ซึ่งควรจะประสานสอดคล้อง ส่งเสริมกัน เพื่อตอบสองต่อปัญหา EID ต่างๆ
งาน EID ไม่เหมือนปี่เซียะ
เข้ายับยั้ง คุมว่องไว ควบคุมฉุกเฉิน (Response / control) เตรียมความพร้อม ให้เต็มร้อย เตรียมความพร้อม (Preparedness) หมั่นเฝ้าคอย ระแวดระวัง เฝ้าระวัง ค้นหา (Surveillance / Detection) ประสานใส่ เข้าแผนงาน ประสานงาน เข้าแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคระยะยาว (Control program) กรอบความคิดร่วมยุทธศาสตร์ในงาน EIDs งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ Emerging Infectious Disease Program ออก (Exit) Known diseases เข้า (Entry) Emerging diseases
ควบคุมฉุกเฉิน (Response / control) เตรียมความพร้อม (Preparedness) เฝ้าระวัง ค้นหา (Surveillance / Detection) ประสานงาน เข้าแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคระยะยาว (Control program) กรอบความคิดร่วมยุทธศาสตร์และเครื่องมือในงาน EIDs เครื่องมือ • นโยบายและยุทธศาสตร์ • แผนเตรียมความพร้อม • การซ้อมแผน • คู่มือ แนวทาง มาตรฐาน • การฝึกอบรมบุคลากร • Stockpile & logistics • ระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรอง • การชันสูตร (lab) • ระบบงาน PHEM, ICC • การวิจัยพัฒนา เทคโนโลยี เครื่องมือ รูปแบบ เครื่องมือ • ระบบเฝ้าระวัง ข่าวกรอง • SRRT (สอบสวน) • การชันสูตร (lab) • IT เครื่องมือ • การควบคุมโรค (ควบคุมสัตว์พาหะ สุขาภิบาล วัคซีน) • SRRT (ควบคุม) • การรักษาผู้ป่วยและ IC • สุขศึกษา ปชส. • การสนับสนุนเวชภัณฑ์ วัสดุและปฏิบัติการ • ระบบงาน PHEM, ICC, war room เครื่องมือ • การพัฒนานโยบาย และยุทธศาสตร์ • การประสานแผน และงบประมาณ • การประสานทางวิชาการและบริหารจัดการ
ควบคุมฉุกเฉิน (Response / control) เตรียมความพร้อม (Preparedness) เฝ้าระวัง ค้นหา (Surveillance / Detection) ประสานงาน เข้าแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคระยะยาว (Control program) บทเรียนจากประสบการณ์ยุทธศาสตร์และเครื่องมือกรณี AI-PI เครื่องมือ • ระยะแรกไม่มีนโยบายและยุทธศาสตร์ รีบทำขึ้นภายหลัง • แผนเตรียมความพร้อม ทำขึ้นภายหลัง และพัฒนาต่อมา • การซ้อมแผน เริ่มปลายปีที่ 2และทำต่อเนื่อง เริ่มเนือย • เร่งจัดทำคู่มือ แนวทาง ในปีแรก และปรับปรุงเป็นระยะ • การฝึกอบรมบุคลากร ระยะแรกทำบ่อย ต่อมาชะลอตัว • Stockpile AV, PPE ค่อยสะสม • ระบบเฝ้าระวังโรค ต่อจาก SARS • การชันสูตร (lab) กรมวิทย์เร่งขยาย ขณะนี้เพียงพอ • PHEM ส่วนใหญ่ใช้ War room • วิจัยพัฒนาเครื่องมือโดย สวทช สธ.วิจัยทางระบาด คลีนิก และประเมินชุมชน เครื่องมือ • ระบบเฝ้าระวังโรค พัฒนาต่อเนื่อง บางช่วงลดระดับ การแลกข้อมูลกับปศุสัตว์ทำได้น้อย • งานข่าวกรองเริ่มพัฒนา • SRRT จัดตั้งชัดเจน ทุกระดับ สอบสวน suspect cases ทุกราย ทำงานได้ดี แต่มีกำลังจำกัด มีแนวโน้ม over expected และ over loaded • อสม.ช่วยได้ดี • การชันสูตร (lab) รักษาระดับ เครื่องมือ • การควบคุมโรค เน้นกำจัดสัตว์ปีกติดโรค โดยปศุสัตว์ • SRRT ช่วยควบคุมโรคเบื้องต้นในชุมชน อสม.ช่วยได้ • การรักษาผู้ป่วยและ IC ทำได้ใน รพ.ส่วนใหญ่ • สุขศึกษา ปชส. โดยบุคคลและผ่านสื่อ ระยะแรกทำมาก ระยะหลังแผ่วลง • การสนับสนุนเวชภัณฑ์ ยังทำได้สม่ำเสมอ • การสนับสนุนปฏิบัติการไม่จำเป็นมาก • PHEM กำลังจัดระบบ ใช้ war room แทน ICC เครื่องมือ • ด้านการป้องกันควบคุม AI ในระยะยาว ยังไม่ได้ประสานกับงาน Zoonosis • ด้านการป้องกัน seasonal flu มีนโยบายและแนวทางเบื้องต้น • ได้ประสานแผนการให้วัคซีน seasonal flu ร่วมอยู่ในงาน EPI • ยังไม่มีการประสานแผนป้องกัน season flu กับงาน ARIC • ด้านการเตรียมรับการระบาดใหญ่ ใช้การประสานงานพหุภาคี ในกรอบแผนยุทธศาสตร์ชาติ
ควบคุมฉุกเฉิน (Response / control) เตรียมความพร้อม (Preparedness) เฝ้าระวัง ค้นหา (Surveillance / Detection) ประสานงาน เข้าแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคระยะยาว (Control program) บทเรียนจากประสบการณ์บทบาทหน่วยงาน คร.กรณี AI-PI
ควบคุมฉุกเฉิน (Response / control) เตรียมความพร้อม (Preparedness) เฝ้าระวัง ค้นหา (Surveillance / Detection) ประสานงาน เข้าแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคระยะยาว (Control program) การประสานงานระหว่าง สอม.และ สคร.ในแผนปฏิบัติงาน EID ปี 2552
โครงการของสอม.และการมีส่วนร่วมของ สคร. 1.พัฒนาการวิจัยผลผลิต ทางวิชาการ และ KM
หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบหน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ งาน / โครงการระดับกรม • Disease • outbreaks • Cholera • Dengue • Botulism • Food pois. • Etc • Natural • Disasters • Flood • Storms • Fires • Tsunami • Accidents • Atomic • Chemical • Traffic • Etc • Others • What? • What? • What? • What? PHER • หน่วยงานใดเป็นผู้ประสาน งานหลักของ PHER ระดับ กรม และ กระทรวง • ระบบงาน PHER ของกรมเป็นอย่างไร คำถาม/ปัญหาสำคัญของ สคร. ขึ้นต้นเป็นลำไม้ไผ่ พอเหลาลงไป กลายเป็นไผ่กอโต • อยากให้ผู้รับ ผิดชอบส่วน กลางบูรณาการกิจกรรม งบฯและตัวชี้วัดของ โครงการต่างๆที่เกี่ยวกับ PHER • EIDs • SARS • Avian flu • Nipah • Plague • etc • ทีมงาน PHER คือทีม SRRT? • ทีมงาน PHER/ SRRT อยู่ในสภาวะ over-expected และ overloaded โรคอะไรถือเป็น EID บางโรคไม่น่าจะถือเป็น EID เช่น Botulism, Lepto., Rabies, etc. โรค / ปัญหาอื่นใดบ้าง ถือว่าอยู่ใน งาน PHER งบฯPHER ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มงานระบาดฯ แต่งานส่วนใหญ่ทำโดยกลุ่มโรคติดต่อ
ประเด็นเพื่อประสาน/บูรณาการแผนประเด็นเพื่อประสาน/บูรณาการแผน ควรประสานแผนระหว่าง สอม.กับสำนักอื่นๆ เพื่อบูรณาการ known EID เข้าสู่แผนงานปกติ เพื่อการป้องกันควบคุมระยะยาว (เช่น Nipah-Zoonosis, Leishmaniasis-VBD, Flu-EPI-ARIC) ควรแสวงหาโอกาสบูรณาการโครงการต่างๆ ภายในกรม คร. รวมทั้งกับโครงการของหน่วยงานอื่น ซึ่งมีความสอดคล้องกัน ให้ได้มากที่สุด เพื่อลดการซ้ำซ้อน เพื่อประสิทธิภาพ และประหยัด โครงการที่สำคัญและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรผลักดันให้อยู่ในตัวชี้วัดของการตรวจราชการบูรณาการของกระทรวงสาธารณสุข