1 / 53

มูลนิธิชีววิถี

ประเทศไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. ผลกระทบต่อด้านการเกษตรและทรัพยากร. มูลนิธิชีววิถี. สถานะของปัญหาที่สำคัญ. วิกฤตพลังงาน. การเปลี่ยนข้าวโพดเป็นเอธานอล. Source: USDA. ศักยภาพของฐานทรัพยากรชีวภาพ. วิกฤตอาหารโลกในรอบ 100 ปี. ดัชนีราคาอาหาร 2554-2555 ใกล้เคียงกับวิกฤตปี 2551.

bryony
Download Presentation

มูลนิธิชีววิถี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเทศไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประเทศไทยกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลกระทบต่อด้านการเกษตรและทรัพยากร มูลนิธิชีววิถี

  2. สถานะของปัญหาที่สำคัญสถานะของปัญหาที่สำคัญ

  3. วิกฤตพลังงาน

  4. การเปลี่ยนข้าวโพดเป็นเอธานอลการเปลี่ยนข้าวโพดเป็นเอธานอล Source: USDA

  5. ศักยภาพของฐานทรัพยากรชีวภาพศักยภาพของฐานทรัพยากรชีวภาพ

  6. วิกฤตอาหารโลกในรอบ 100 ปี

  7. ดัชนีราคาอาหาร 2554-2555 ใกล้เคียงกับวิกฤตปี 2551 FAO Food Price Index 1990-2012

  8. เปอร์เซ็นต์การครอบครองที่ดินของต่างชาติในประเทศต่างๆเปอร์เซ็นต์การครอบครองที่ดินของต่างชาติในประเทศต่างๆ สาธารณรัฐเชค 4% โรมาเนีย 7% ยูเครน 3% สหรัฐ 1% ออสเตรเลีย 12% กัมพูชา 8% อินโดนีเซีย 8% ลาว 41% นิวซีแลนด์ 3% เบนิน 3% คองโก 6% เอธิโอเปีย 10% การ์บอง 8% กินนี 11% ไลบีเรีย 67% มาดากัสการ์ 2% มาลาวี 7% มาลี 2% โมแซมบิค 6% ไนจีเรีย 1% เซเนกัล 5% เซียร่าเลโอน 15% ซูดาน 8% ซูดานใต้ 4% แทนซาเนีย 7% อูกานดา 2% แซมเบีย 3% อาร์เจนตินา 10% โบลิเวีย 4% บราซิล 2% โคลอมเบีย 1% ปารากวัย25% อุรุกวัย 26% GRAIN-2011

  9. การแย่งยึดที่ดิน - LAND GRABBING • ธนาคารโลกประเมินว่าอยู่ที่ 46 ล้านแฮกตาร์ ระหว่างปี 2008-2009 •  Land Deal Politics Initiative ประมวลว่าอยู่ที่ 80 ล้านแฮกตาร์ หรือ 500 ล้านไร่หรือ หรือประมาณ 1.5 เท่าของพื้นที่ประเทศไทย • สัดส่วนภูมิภาคที่ถูกแย่งยึดที่ดินคือ แอฟริกา 75% เอเชีย 17% ลาตินอเมริกา 7% และยุโรป 1% • พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการผลิตอาหาร

  10. ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้านความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้าน กราฟแสดงความเหลื่อมล้ำรายได้ของคนในสังคมไทย วัดจากสัมประสิทธิ์ Gini ที่มา : รายงานของ UNDP ปี 2552

  11. กลไกสำคัญของความตกลงที่มีผลกระทบต่อการเกษตรและทรัพยากรกลไกสำคัญของความตกลงที่มีผลกระทบต่อการเกษตรและทรัพยากร

  12. ความตกลงสำคัญที่นำไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนความตกลงสำคัญที่นำไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 1. ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) 2. ความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน 3. ความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) 4. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน

  13. การเปิดเสรีสินค้า ปี 2553 ปี 2558 ภาษี 0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี 0% อาเซียนเดิม เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา • รายการยกเว้น • รายการอ่อนไหว (Sensitive List-SL)ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5% • รายการอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List)สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List) ลดภาษีลงในระดับที่ต้องตกลงกัน (10-40%) • รายการยกเว้นทั่วไป (General Exclusion List)

  14. ตารางการลดภาษีของประเทศต่างๆ-2551ตารางการลดภาษีของประเทศต่างๆ-2551 การเปิดเสรีสินค้า

  15. สินค้าอ่อนไหว

  16. สินค้าอ่อนไหวสูง 16

  17. ข้อสังเกตบางประการ ประเทศไทยไม่กำหนดสินค้าอ่อนไหวสูงเลย และกำหนดสินค้าอ่อนไหวไม่กี่รายการ เนื่องจากเหตุผล 2 ประการคือ 1.การกำหนดนโยบายเปิดเสรีสินค้าการเกษตรบางรายการ เช่น กรณีข้าวโพด และถั่วเหลือง โน้มเอียงไปเพื่อผลประโยชน์ของบริษัทอาหารสัตว์ มากกว่าเกษตรกรรายย่อย 2. เป็นความบกพร่องในการวิเคราะห์ เช่น ประเมินว่าประเทศไทยได้เปรียบประเทศอื่นๆในสินค้าข้าว

  18. ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน ACIA • ความตกลงด้านการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) หรือ ACIA มีการลงนามไปเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ในระหว่างการประชุม ASEAN Summit ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ ประเทศไทย • ความตกลงนี้เกิดขึ้นจากการรวมความตกลง 2 ฉบับเดิมของอาเซียน คือ AIA (ASEAN Investment Area) ความตกลงเปิดเสรีด้านการลงทุนฉบับแรกของอาเซียนที่มีผลบังคับใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และ ASEAN IGA (ASEAN Investment Guarantee Agreement) ความตกลงส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนของอาเซียนที่มีผลบังคับใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530

  19. กรณีการเปิดเสรีการลงทุน-ACIAกรณีการเปิดเสรีการลงทุน-ACIA • ให้สิทธินักลงทุนอาเซียนเท่ากับคนในประเทศ • เปิดเสรีให้กับนักลงทุนนอกอาเซียนที่ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียน (Foreign owned Asian Investor) • กำหนดประเภทการลงทุนเป็น • รายการยกเว้นเป็นการชั่วคราว (Temporary Exclusion List-TEL) AIA กำหนดไว้ 3 สาขาคือ 1)การทำประมง เฉพาะการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2) การทำป่าไม้จากป่าปลูก 3)การทำกิจการเพาะขยายหรือปรับปรุงพันธุ์พืช ซึ่งประเทศไทยจะต้องเปิดเสรีภายในปี 2553 • รายการอ่อนไหว (Sensitive List-SL) • รายการยกเว้นทั่วไป (General Exclusion List)

  20. ความเคลื่อนไหวการเปิดเสรีเรื่องการลงทุนความเคลื่อนไหวการเปิดเสรีเรื่องการลงทุน • 3 สิงหาคม 2552 คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศมีมติเห็นชอบให้ถอนสาขาที่เคยสงวนไว้ในรายการสงวนชั่วคราว • 8 ตุลาคม 2554 ศ.ระพี สาคริกและองค์กรภาคประชาชน 103 องค์กรเคลื่อนไหวคัดค้าน • 30 ตุลาคม 2552 คุณหญิงสุพัตรา มาศดิษฐ์ ทำจดหมายถึงนายกรัฐมนตรีเสนอให้ยกเลิกการเปิดเสรีใน 3 สาขาดังกล่าว • 12 พฤศจิกายน 2552 กนศ.มีมติให้ชะลอการเปิดเสรีการลงทุนใน 3 สาขา • 12 มกราคม 2553 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ชะลอการเปิดเสรีการลงทุน 3 สาขา และให้มีการศึกษาเพิ่มเติม

  21. ผลกระทบ การเปิดเสรีสินค้า

  22. ผลผลิตข้าวและต้นทุนเปรียบเทียบผลผลิตข้าวและต้นทุนเปรียบเทียบ การเปิดเสรีสินค้า ต้นทุน/ไร่ ข้อมูลจาก AFSIS/FAOSTAT

  23. ผลผลิตมันสำปะหลังและต้นทุนเปรียบเทียบผลผลิตมันสำปะหลังและต้นทุนเปรียบเทียบ การเปิดเสรีสินค้า * ตัวเลขรัฐบาลปี 2552

  24. บทเรียนกรณีการทำเอฟทีเอไทย-จีนบทเรียนกรณีการทำเอฟทีเอไทย-จีน หน่วย : หมื่นไร่

  25. ปริมาณการส่งออกและนำเข้าข้าวโพดเม็กซิโก 2009 1960 ที่มา FAOSTAT

  26. ปริมาณการส่งออกและนำเข้าข้าวโพดเม็กซิโก

  27. เปรียบเทียบการส่งออกข้าวพม่า เวียดนาม และไทย 1960 2009

  28. ทางออกระยะสั้นกรณีการเปิดเสรีสินค้าทางออกระยะสั้นกรณีการเปิดเสรีสินค้า การเปิดเสรีสินค้า • ทางออกที่ดำเนินการโดยรัฐ • กำหนดด่านที่นำเข้า • ตรวจสอบการปนเปื้อนจีเอ็มโอ • นำเข้าผ่านหน่วยงานของรัฐ • นำมาใช้สำหรับการแปรรูปเท่านั้น • ข้อเสนอของภาคเอกชน(โรงสี) • ตั้งโรงสีบริเวณชายแดน และเพื่อการส่งออกเท่านั้น • เข้าไปลงทุนกิจการโรงสีในต่างประเทศ • เข้าไปลงทุนทำการผลิตในประเทศเพื่อนบ้าน

  29. ผลกระทบ การเปิดเสรีการลงทุน 3 สาขา

  30. สถานะ สำนักเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 26 มกราคม 2555

  31. สถานะ สำนักเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 26 มกราคม 2555

  32. แลนด์โอเลค 4% ลิมาเกรน 9% อื่นๆ33% ซินเจนทา 9% ตลาดเมล็ดพันธุ์ของโลก ดูปองท์ 15% มอนซานโต้ 23% ETC 2008

  33. สถานะของการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทยสถานะของการผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทย ที่มา : สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย 2553

  34. ผลกระทบของการเปิดเสรีการเพาะและขยายพันธุ์พืชผลกระทบของการเปิดเสรีการเพาะและขยายพันธุ์พืช • บริษัทข้ามชาติและบริษัทขนาดใหญ่ของไทยจะเพิ่มสัดส่วนการควบคุมตลาดเมล็ดพันธุ์ในประเทศไทยมากยิ่งขึ้นไปอีก • บรรษัทข้ามชาติสามารถเข้าถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย การใช้ประโยชน์จากนักวิจัยของไทย รวมถึงพันธุ์พืชที่ได้รับการปรับปรุงจากการวิจัยของรัฐได้โดยง่าย • ขัดขวางการพัฒนาศักยภาพในการพัฒนาเรื่องพันธุ์พืชของผู้ประกอบการขนาดเล็กและเกษตรกรรายย่อย

  35. ผลกระทบของการเปิดเสรีจากการปลูกป่าและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำผลกระทบของการเปิดเสรีจากการปลูกป่าและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • ต่างชาติจะเข้ามาแย่งชิงพื้นที่ทำกิน และทรัพยากร(ป่าไม้และทะเล)ซึ่งปัจจุบันมีปัญหามากอยู่แล้วทำให้เกิดความขัดแย้งรุนแรงมากยิ่งขึ้น • ส่งเสริมการปลูกป่า และเพาะเลี้ยงในระบบเชิงเดี่ยว ซึ่งสร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น แทนที่จะสนับสนุนระบบป่าชุมชนและวนเกษตร หรือการประมงชายฝั่งที่อนุรักษ์ป่าชายเลนและหญ้าทะเล • ต่างชาติจะเข้ามาใช้สิทธิคาร์บอนเครดิตจากการปลูกป่า

  36. เปรียบเทียบรายการอ่อนไหวของอินโดนีเซียเปรียบเทียบรายการอ่อนไหวของอินโดนีเซีย

  37. ข้อเสนอแนะระยะสั้น • ภายใต้สถานการณ์โลกเกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร ปัญหาพื้นฐานของเกษตรกรรายย่อยที่ไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรได้อย่างพอเพียง ประเทศไทยไม่ควรเปิดเสรีการลงทุนในสาขาดังกล่าว • การเปิดให้มีการลงทุนควรผ่านกลไกภายในภายใต้นโยบายของประเทศเอง • ควรประเมินผลของการส่งเสริมการลงทุนที่ผ่านมาในสาขาเกษตรว่าทำให้เกิดผลกระทบเช่นไรบ้างต่อภาคเกษตรกรรม เกษตรกรส่วนใหญ่ และความมั่นคงทางอาหารของชาติ • การเปิดเสรีในการลงทุนต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกฝ่าย และการศึกษาวิจัยควรดำเนินการโดยสถาบันที่ได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย

  38. การเตรียมความพร้อม

  39. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน • การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต • การแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของเกษตรกรรายย่อยอย่างยั่งยืน • 3. การพัฒนาตลาดเฉพาะที่ไม่ต้องแข่งขันกับสินค้าของประเทศเพื่อนบ้าน • 4. สนับสนุนการแข่งขันของผู้ประกอบการรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนให้ได้ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าระหว่างประเทศ • สร้างความร่วมมือในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความมั่นคงทางอาหาร • ไม่เปิดเสรีการค้าและการลงทุนที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร และผลกระทบต่อเกษตรกรรายย่อย/ชุมชนท้องถิ่น

  40. 1. ลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (1) การสำรวจของ IRRI 1994-1999

  41. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (2) การเปิดเสรีสินค้า โครงการ 3 ลด 3 เพิ่ม ของเวียดนาม

  42. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (3) การเปิดเสรีสินค้า

  43. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (4) GMOs ผลผลิตไม่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับพืชทั่วไป “Genetic engineering has been at best neutral with respect toyield. This is consistent with the fact that genetic engineering hasnot increased the yield potential of any commercialized GM crop” Fernandez-Cornejo&Caswell, April 2006 ERS/USDA

  44. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (5) การศึกษา 1996-2008 พบว่าGMOsใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น

  45. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (6)

  46. 2. ลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต (7) Source: Agricultural Prices, National Agricultural Statistics Service, USDA.

  47. 2. ปฏิรูปเชิงโครงสร้าง(1) ที่มา : IRRI/USDA/WorldBank

  48. 2. ปฏิรูปเชิงโครงสร้าง(2) • ใช้งบประมาณ 25% จากงบประมาณสำหรับการจำนำข้าวปี 2555/56 สำหรับแก้ปัญหาที่ดินสำหรับเกษตรกร • พัฒนาระบบชลประทานขนาดเล็กและระดับไร่นาในพื้นที่เกษตรน้ำฝน 109 ล้านไร่ • ข้อเสนอเรื่องที่ดินของคณะกรรมการปฏิรูป • จัดตั้งกองทุนธนาคารที่ดินเพื่อการเกษตรเพื่อนำเงินทุนไปซื้อที่ดินที่ถือครองเกินขนาดจำกัด รวมทั้งจัดซื้อที่ดินที่เป็นทรัพย์ประกันหนี้เสียของธนาคารและสถาบันการเงินมาบริหารให้กระจายไปยังเกษตรกรที่ไร้ที่ดินและที่มีที่ดินไม่พอทำกิน ปีละ 1 แสนล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี รวมเป็นเงิน 5 แสนล้านบาท มาให้กองทุนฯ • จัดซื้อที่ดินเพื่อกระจายไปให้เกษตรกรผู้ไร้ที่ดินหรือมีที่ดินไม่พอทำกินจำนวนประมาณ 1 ล้านครัวเรือน • จำกัดเพดานการถือครองที่ดินที่เหมาะสมโดยใช้อัตราภาษีเป็นกลไกควบคุม

  49. 3. การพัฒนาตลาดที่มีคุณภาพเฉพาะ (1)

  50. 3. การพัฒนาตลาดที่มีคุณภาพเฉพาะ (2) การขยายพื้นที่เกษตรกรรมอินทรีย์ทั่วโลก

More Related