1 / 31

หลักสูตร ปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ วันเสาร์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

บรรยายพิเศษ. " การเมืองว่าด้วยเรื่อง. แห่งความ มานฉันท์". ส. ส. หลักสูตร ปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ วันเสาร์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง. ไมตรี อินทุสุต. ข้. อพิจารณาในการศึกษา.

bryson
Download Presentation

หลักสูตร ปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ วันเสาร์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บรรยายพิเศษ " การเมืองว่าด้วยเรื่อง แห่งความ มานฉันท์" ส ส หลักสูตร ปริญญาโทคณะรัฐศาสตร์ วันเสาร์ที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง ไมตรี อินทุสุต

  2. ข้ อพิจารณาในการศึกษา • ลอดจากการใส่คุณค่าส่วนตัว + ให้มองเป็นกลาง ๆ + ดูเป็นรวม ๆ • องด้านวิชาการ ไม่ใช่ความรู้สึก หรือความพึงพอใจ • 3.จารณาหลักคิด + การมองปัญหา + • วิเคราะห์ปัญหา • 4.สถานการณ์ + เหตุการณ์มาวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ป ม พิ นำ

  3. ประเด็นการนำเสนอ การเมืองในทัศนะต่าง ๆ การพัฒนาการเมือง แผนและสภาพัฒนาการเมือง กระบวนทัศน์เชิงนโยบายทางการบริหาร ว่าด้วยความสมานฉันท์ 1. 2. 3. 4. 5.

  4. 1. การเมืองในทัศนะต่าง ๆ (Politics : Mean & Concept ) ก. ทัศนะเดิม 1. การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับการได้มาซึ่งอำนาจ ( Power ) • ใครจะได้อะไร เมื่อใด อย่างไร ( Politics is , who gets “ What”, “ When”, and “ How”) • Rulers VS Ruled ( อำนาจสองทางระหว่างผู้ปกครอง และฝ่ายที่ถูกปกครอง)

  5. ก. ทัศนะเดิม 2. การเมือง เป็นเรื่องของผลประโยชน์ ( Interest ) 3. การเมือง เป็นเรื่องของความขัดแย้ง ( Conflict )

  6. ข. ทัศนะที่กว้าง 4. การเมืองเป็นเรื่องของการกระจาย ทรัพยากร + คุณค่า ( Distribution Resources ) "...Authoritative allocation of values " 5. การเมือง เป็นเรื่องของการสื่อสาร ( Communication & Technology ) 6. การเมืองเป็นศิลปะแห่งความเป็นไปได้ ( The Art of Possible )

  7. 3 กระบวนการสำคัญ การพัฒนาการเมือง • Institutionalization - Adaptability - Complexity - Coherence - Autonomy Political Development • Political Stability • Political Capacity 2.

  8. การทำให้ทันสมัย : (Political Modernization) 1.ความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทำให้ทันสมัย = การพัฒนาเศรษฐกิจ ความข้องคับใจทางสังคม (Political Frustration) 2.ความข้องคับใจทางสังคม= โอกาสในการเปลี่ยนสถานภาพของคนในสังคม การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation) 3.การเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง = ความเป็นสถาบันของระบบการเมือง ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง (Political Instability)

  9. risis D Political C Political ecay ความเป็นมา • ประสบปัญหาความชอบธรรม(LegitimacyCrisis) • 2.เกิดจากผู้นำโดยตรง(Leadership Crisis) • 3. เกิดการท้าทายด้วยกระแสในเมืองจากภาคส่วนต่างๆและกลุ่มพลังต่างๆ • 4. รัฐบาลมีปัญหาข้อครหาความโปร่งใสหลายๆด้าน และการตอบสนองของประชาชน(Responsive Crisis)

  10. (ต่อ) Failed State • องค์กรอิสระไม่สามารถจะปฏิบัติหน้าที่อย่างอิสระ ถูกครอบงำ(Institutional Crisis) • ระดับการพัฒนาความเป็นสถาบัน(Institutionalization)ในกระบวนการ • พัฒนาการเมืองลดลง • วิกฤตด้านสัญลักษณ์ (Identity Crisis) • วิกฤตด้านการมีส่วนร่วม (Participation Crisis)

  11. เหตุการณ์รัฐประหาร กันยายน 2549

  12. หตุแห่งการยึดอำนาจ โจทย์ที่ต้องพิสูจน์ เ • เกิดความขัดแย้งในสังคมอย่างรุนแรงแบ่งฝักฝ่าย • การบริหารราชการแผ่นดินที่ส่อไปในทางทุจริตเอื้อประโยชน์ต่อพวกพ้อง • 3.องค์กรอิสระถูกแทรกแซง • 4.มีการกระทำที่หมิ่นเหม่ต่อการละเมิดสถาบัน

  13. วงจรการเมือง ทย ไ วัฏจักรแห่ง....... (Vicious cycle) ซื้อเสียง การเลือกตั้ง ตั้งรัฐบาล จัดตั้งรัฐบาล ชั่วคราว+ร่าง รธน. เกิดการทุจริต, ความขัดแย้งการสร้างฐานอำนาจ รวบอำนาจ รัฐประหาร

  14. 3. แผนพัฒนาการเมือง มีแผนพัฒนาการเมือง รธน. 2550 การพัฒนาการเมือง ของภาคพลเมือง รัฐต้องส่งเสริมให้ ปชช.เข้มแข็งทางการเมือง รัฐต้องจัดให้มี ก.ม. จัดตั้งกองทุนพัฒนา การเมือง ภาคพลเมือง การดำเนิน กิจกรรม สาธารณะของชุมชน กลุ่มประชาชนสามารถ แสดงความคิดเห็น / เสนอความต้องการของ ชุมชนในพื้นที่ มีการศึกษาเกี่ยวกับ การพัฒนาการเมือง / การปกครองในระบอบ ปชต.อันมี k เป็นประมุข ปชช.ใช้สิทธิ เลือกตั้งโดยสุจริต และเที่ยงธรรม

  15. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเมืองยุทธศาสตร์การพัฒนาการเมือง • คุ้มครองสิทธิเสรีภาพ / • ส่งเสริมความเข้มแข็ง • ของภาคประชาสังคม 4. ธรรมาภิบาลทาง การเมืองและการบริหาร 2. เสริมสร้างวัฒนธรรมการเมือง แบบ ปชต. / การมีส่วนร่วม ทางการเมือง 5. ความมั่นคง การจัดการ ความขัดแย้ง และการสร้าง สังคมสมานฉันท์ 3. คุณธรรม จริยธรรม ของผู้นำ และนักการเมือง 6. กระจายอำนาจ และการ สร้างความเป็นธรรม ในการบริหารทรัพยากร

  16. สภาพัฒนาการเมือง แผนพัฒนาการเมือง นำแผนไปสู่การปฏิบ้ติ วัฒนธรรมอันดีทางการเมือง มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ปชช.เข้มแข็งทางการเมือง การมีส่วนร่วมของ ปชช.

  17. การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์เชิงนโยบายการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์เชิงนโยบาย และการบริหารของ รัฐบาล 4. 2 เปรียบเทียบ แนวทาง + จุดเน้นนโยบาย 2. ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ 3. ทวิวิถี กับ เศรษฐกิจพอเพียง 4. การบริหารราชการรัฐบาลประชานิยม กับรัฐบาลสมานฉันท์ 5. ด้านสังคมจิตวิทยาและกำลังอำนาจ ทางการเมือง

  18. การเปรียบเทียบแนวทางของ รัฐบาล 2 แนวทางรัฐบาลประชานิยม แนวทางรัฐบาลสมานฉันท์ • นโยบายทางเศรษฐกิจ • - เน้นระบบThaksinomics ซึ่งเป็น • นโยบายประชานิยม ( เป็นนโยบายกึ่ง • รัฐสวัสดิการ ) 1. นโยบายทางเศรษฐกิจ - เน้นแนวคิดในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ไม่เน้นประชานิยมและค่อนข้างจะมี ลักษณะการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ แบบระมัดระวัง 2. นโยบายด้านความมั่นคง - เปลี่ยนแปลงบ่อยตามสถานการณ์ - ดำเนินนโยบายแข็งกร้าวตาต่อตาฟัน ต่อฟันโดยเฉพาะปัญหา3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ - ต้องการให้เห็นผลทันทีทันใด 2. นโยบายด้านความมั่นคง - เน้นความยืดหยุ่นในการดำเนิน นโยบายโดยเฉพาะความสมานฉันท์ ในประเทศและในปัญหา 3จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ได้ใช้นโยบาย สมานฉันท์และอดทนเป็นหลัก

  19. แนวทางรัฐบาลประชานิยมแนวทางรัฐบาลประชานิยม แนวทางรัฐบาลสมานฉันท์ 3. นโยบายด้านการเมือง -เน้นการเมืองในระบบรวมศูนย์การ ตัดสินใจอยู่ที่ผู้นำเป็นหลัก (แม้รูปแบบจะ เป็นประชาธิปไตยแต่จริงๆอำนาจการตัดสินใจ รวมศูนย์อยู่ที่ผู้นำ) - มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบบ่อย ครั้งมากโดยเฉพาะมทภ.4 และผบช. ภาค9ในการแก้ไขปัญภาคใต้ 4. นโยบายด้านการต่างประเทศ - ค่อนข้างจะหวือหวาต้องการช่วงชิง ความเป็นแกนนำของอาเซียน - การแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศค่อนข้างจะแข็งกร้าว 5. นโยบายด้านสังคม - เน้นนโยบายประชานิยมซึ่งเป็นลักษณะของ รัฐสวัสดิการกลาย ๆ 3. นโยบายด้านการเมือง - เน้นการเมืองในภาคปฏิบัติ กล่าว คือ เน้นการปฏิบัติกับนโยบายไม่เน้นผลงานที่มีระยะยาว เป็นช่วงรอยต่อระหว่างของการปฏิรูปการเมือง โดยเฉพาะการร่างรัฐธรรมนูญ 4. นโยบายด้านการต่างประเทศ - ค่อนข้างจะ รัดกุม เน้นการเปิดตัวและการยอมรับในเวทีโลกมากกว่า เนื่องจากไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง 5. นโยบายด้านสังคม - เน้นรักษาสมดุลในสังคม ฟื้นฟูความสมานฉันท์ของคนในชาติ การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานหลัก

  20. การบริหารและการจัดการการบริหารและการจัดการ ณ กาลครั้งหนึ่ง(44-49) สมานฉันท์(49-ปัจจุบัน) 1. วิสัยทัศน์ 2. ความรู้คู่คุณธรรม 3. เน้นการแข่งขันและการตลาด 4. ประชานิยม 5. บริโภคนิยม 6. เทศนิยม 7. เร็ว + รุก 8. ก้าวกระโดด 9. มิติธุรกิจ 10. Growth -GDP 11. ความเร็ว + ความเสี่ยง 12. Business Mind 13. เน้นความเป็นเลิศ 14. ลู่ตามโลกาภิวัตน์ 15. นำแผน 10 1. อุดมการณ์ 2. คุณธรรมนำความรู้ 3. เพียงพอ - พอเพียง 4. ประชาเข้มแข็ง 5. ประหยัดอดออม 6. ไทยนิยม 7. รอบคอบ + รัดกุม 8. จังหวะก้าว 9. มิติประชาสังคม 10. Happiness - GHP 11. ความเชื่อมั่น 12. Public Mind 13. จริยธรรม - ธรรมาภิบาล 14. รั้งกระแสโลกาภิวัตน์ 15. ตามแผน 10

  21. หตุแห่งการยึดอำนาจ เ าระแห่งชาติของรัฐบาล ว • เกิดความขัดแย้งในสังคมอย่างรุนแรง • 2. การบริหารราชการแผ่นดินที่ส่อไปในทางทุจริตเอื้อประโยชน์ต่อพวกพ้อง • 3. องค์กรอิสระถูกแทรกแซง • 4. มีการกระทำที่หมิ่นเหม่ต่อการละเมิดสถาบัน • ปฏิรูปการเมือง การ • ปกครอง • 2. สร้างความปรองดองในชาติ • 3. กระจายรายได้อย่างทั่วถึงเป็นธรรม • 4. กอบกู้หลักนิติธรรม 4 ทิศทางการจัดระเบียบ

  22. ข้อสรุป • มีการฟื้นฟูและปฏิรูปการเมืองตามวาระแห่งชาติ • 2. สร้างวัฒนธรรมฐานรากทางสังคมด้วย • วัฒนธรรม การเมือง • 3. การปรับกระบวนทัศน์และจุดเน้นนโยบาย • 4. เผชิญกับการท้าทายช่วงเปลี่ยนผ่านอำนาจ ...“น้ำ”

  23. 5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของรัฐบาลสมานฉันท์ A B C D E F G Active Citizen Bureaucratic Reform Clean Politician Develop Sufficiency Economy Economy of Confidence and Trust Free and Fair Election Good Governance

  24. การประเมินภาพลักษณ์ของการประเมินภาพลักษณ์ของ รัฐบาลมานฉันท์ ส • People • Position • Power • Personality • Public Policy • Performance • Public Opinion /Relation • Political Change

  25. เทคนิค 5 T • Trust • Truth • Transparency • Talk • Timing

  26. ข้อพิจารณา ด้านการบริหารของรัฐบาล การบริหารขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ > งานกระทรวง ยึดการบริหารเชิงภาวะวิกฤต >เชิงประจำ ควรปรับผู้บริหารให้ลงตัว มี รอง นรม. รับ Agenda เฉพาะ สามารถสื่อกับสาธารณะได้เจนจัด มีทักษะการจัดการ (Staff – Style – Skill)

  27. 6. ประชาสัมพันธ์ครบวงจร (IMC- Integrated Management Communication) 7. จัดลำดับความสำคัญ + เร่งรัดงานนิติบัญญัติ 8. เผยแพร่การปฏิรูปสังคม (พอเพียง ธรรมาภิบาล ประชาธิปไตย) 9. โหมกระแสรักชาติ - พลังแผ่นดิน 10. ลดระดับความรุนแรงเหตุการณ์ เพิ่มมิติด้านสังคมจิตวิทยาประชาสัมพันธ์

  28. โรดแมพนำพาประเทศไทยพ้นวิกฤตอย่างยั่งยืนโรดแมพนำพาประเทศไทยพ้นวิกฤตอย่างยั่งยืน พรรคการเมือง ทุกภาคส่วนร่วมปฏิรูปประเทศ ล้ม รธน. สะสาง ทุจริต คอรัปชัน ปลอดวิกฤติชาติ อย่างยั่งยืน รับ/ไม่รับร่าง รธน. 10 ปี จัดการ เลือกตั้งใหม่ วิกฤตชาติ ยึดธรรมรัฐ หนุนเสริม ความตระหนัก และการมี ส่วนร่วม สมานฉันท์ สร้างประชาธิปไตย รากขวัญ ชุมชน อยู่ดี มีสุข กลุ่มการเมือง แบบดั้งเดิม การเมือง แนวใหม่ ยุทธศาสตร์ ภูมิไทย ภูมิแผ่นดิน ขับเคลื่อน ชุมชน เข้มแข็ง ชุมชน พอเพียง

  29. กรอบการดำเนินการยุทธศาสตร์กรอบการดำเนินการยุทธศาสตร์ “ภูมิไทยภูมิแผ่นดิน” Area ภูมิสังคม ยุทธศาสตร์ภูมิไทย ภูมิแผ่นดิน Function ประชาชน (เป้าหมาย) เศรษฐกิจพอเพียง ธรรมาภิบาล สมานฉันท์ Agenda ประชาธิปไตย ภูมิธรรม

  30. แผนปรองดองของรัฐบาลปัจจุบันแผนปรองดองของรัฐบาลปัจจุบัน เทิดทูนสถาบัน ฯ ปฏิรูปประเทศ แก้ไขขัดแย้ง + สร้าง ความเป็นธรรม 3. ปฏิรูปสื่อ ไม่เป็นเครื่องมือทางการเมือง 4. มีการตรวจสอบเหตุการณ์ความสูญเสีย 5. ปฏิรูปกฎหมาย + รัฐธรรมนูญ

  31. สวัสดี www.trang.go.th

More Related