1 / 116

3. การดำเนินงานและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย

3. การดำเนินงานและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย. การตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย. 1. การตรวจสอบการออกแบบและแบบแปลนระบบบำบัดน้ำเสีย 1) เอกสารการออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียประกอบด้วย - แผนผังแสดงแหล่งกำเนิดน้ำเสียจากขั้นตอนการผลิตต่างๆ - ลักษณะของน้ำเสียของแหล่งกำเนิดต่างๆ

buck
Download Presentation

3. การดำเนินงานและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 3. การดำเนินงานและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย

  2. การตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย การตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสีย 1. การตรวจสอบการออกแบบและแบบแปลนระบบบำบัดน้ำเสีย 1) เอกสารการออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียประกอบด้วย - แผนผังแสดงแหล่งกำเนิดน้ำเสียจากขั้นตอนการผลิตต่างๆ - ลักษณะของน้ำเสียของแหล่งกำเนิดต่างๆ - อัตราการไหลของน้ำเสีย - กระบวนการบำบัดน้ำเสีย - รายละเอียดการคำนวณออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย - แบบแปลนการก่อสร้างระบบ (แบบก่อสร้างจริง As-built Drawing) - เอกสารประกอบแบบ : รายละเอียดในการก่อสร้าง (รายการคำนวณ) รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องจักร คู่มือการเดินระบบ

  3. 2) แบบแปลนระบบบำบัดน้ำเสีย ควรประกอบด้วย - ที่ตั้งของระบบ (Treatment Plant Location) - ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย (Flow Diagram) - หน้าตัดชลศาสตร์ (Hydraulic Profile) - ผังบริเวณระบบบำบัดน้ำเสีย (Treatment Plant Layout) - ผังบริเวณระบบท่อ (Piping Layout) - แปลนหน่วยบำบัด (Unit Treatment) - รูปตัดแสดงรายละเอียดของหน่วยบำบัด (Cross section of Unit Treatment)

  4. ที่ตั้งระบบบำบัดน้ำเสีย (Treatment Plant Location)

  5. ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย (Flow Diagram)

  6. ผังบริเวณระบบบำบัดน้ำเสีย (Plant Layout)

  7. หน้าตัดชลศาสตร์ (Hydraulic Profile)

  8. ผังบริเวณระบบท่อ (Piping Layout)

  9. รูปตัดแสดงหน่วยบำบัด (Cross Section)

  10. รูปตัดแสดงหน่วยบำบัด (Cross Section)

  11. 2. การตรวจสอบภาคสนาม - ผู้ควบคุมจะมีความเข้าใจระบบมากขึ้นเมื่อตรวจสอบภาคสนามควบคู่ กับแบบแปลนก่อสร้าง - ในกรณีที่ไม่มีแบบแปลนก่อสร้าง ต้องทำการสำรวจภาคสนาม - ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย - หน้าตัดชลศาสตร์ - ขนาดและปริมาตรของหน่วยบำบัดต่าง ๆ : - ถังเติมอากาศ ถังปรับสภาพ ถังตกตะกอน - เครื่องสูบน้ำ เครื่องสูบสลัดจ์ : อัตราการสูบ ขนาดมอเตอร์ - เครื่องจักรกลอื่นๆ เช่น เครื่องเติมอากาศ เครื่องรีดน้ำ เครื่องกวาดตะกอน ขนาดของมอเตอร์ - อุปกรณ์ควบคุมและอุปกรณ์วัดต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดค่า DO pH ลูกลอย - อุปกรณ์ไฟฟ้า

  12. 3. การตรวจสอบสภาพทั่วไปของระบบ - ตรวจสอบแบบแปลนพร้อมกับตรวจสอบภาคสนาม เพื่อทำการซ่อมปรับปรุงหรือเปลี่ยนทดแทนใหม่ เพื่อให้ระบบมีประสิทธิภาพ - ตรวจสอบสภาพ ความแข็งแรง การชำรุด การทรุดตัว การรั่วซึม ของโครงสร้าง ระบบท่อน้ำเสียและระบบท่อสลัดจ์ - ตรวจสอบสภาพความพร้อมที่จะทำงานของเครื่องสูบน้ำและสลัดจ์ เครื่องจักรกลต่างๆ เช่น เครื่องเติมอากาศ เครื่องรีดน้ำสลัดจ์ เครื่องกวาดตะกอน - ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า และระบบควบคุม

  13. 4. ตรวจสอบขนาดของหน่วยบำบัดต่างๆ - เปรียบเทียบข้อมูล ลักษณะและปริมาณน้ำเสียที่ได้จากการสำรวจภาคสนามและข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบว่าถูกต้อง เหมาะสมหรือไม่ - เปรียบเทียบเกณฑ์ที่ใช้ออกแบบขนาดของหน่วยบำบัดต่างๆ กับเกณฑ์ที่ใช้เป็นมาตรฐานออกแบบ - ถังปรับเสมอ : ใหญ่เพียงพอที่จะทำให้ปรับอัตราการไหลเข้าระบบบำบัดได้คงที่ (เวลากักพัก 6 – 24 ชม.) - ถังเติมอากาศ : เวลากักพัก ความลึก - ถังตกตะกอน : พื้นที่ผิว อัตราน้ำล้นผิว ความลึก เวลากักพัก

  14. - ตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์อื่นๆ ทำหน้าที่ตามที่ออกแบบไว้ - เครื่องสูบน้ำ เครื่องสูบสลัดจ์ เครื่องสูบสารเคมี: อัตราการสูบกับค่าที่ออกแบบไว้ การควบคุมอัตราการไหล การควบคุมวาวล์ - เครื่องเติมอากาศ : การถ่ายเทออกซิเจนทั่วถึง DO > 2 มก./ล. - อุปกรณ์ควบคุมค่า pH, DO: ทำงานได้ถูกต้อง

  15. การควบคุมดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพการควบคุมดูแลระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพ การตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบเอเอส - ในช่วงเริ่มเดินระบบควรวิเคราะห์ลักษณะน้ำเสียและตรวจสอบผลการทำงานของระบบ - ทุกวันอย่างน้อย 1 เดือน - เมื่อระบบทำงานได้คงที่ - อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 – 3 ครั้งอีก 1 เดือน - เมื่อระบบทำงานได้ดีและมีความชำนาญในการควบคุมประสิทธิภาพ - สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  16. การตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบ 1) ลักษณะทางกายภาพ (การสังเกตุ) 2) ลักษณะทางเคมี (การวิเคราะห์ตัวอย่าง) 3) ลักษณะทางชีววิทยา (การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์)

  17. การสังเกต 1) สี-กลิ่น-ตะกอน-ฟองของน้ำเสีย และสลัดจ์ในถังเติมอากาศ - สลัดจ์มีสีน้ำตาลเข้ม ระบบทำงานได้ดี - สลัดจ์มีสีดำ ขาดออกซิเจน - สลัดจ์มีกลิ่นอับคล้ายดิน ให้ออกซิเจนเพียงพอ - สลัดจ์มีกลิ่นก๊าซไข่เน่า ออกซิเจนไม่เพียงพอ - ฟองสีน้ำขาวบนผิวน้ำ จุลินทรีย์อายุและจำนวนน้อยไป - ฟองสีน้ำตาล จุลินทรีย์อายุและจำนวนมากไป 2) ลักษณะการเติมอากาศ ต้องทั่วถึงและสม่ำเสมอ - ค่าออกซิเจนละลาย ต้องไม่ต่ำกว่า 2 มก./ล.

  18. อายุสลัดจ์มาก อายุสลัดจ์น้อย

  19. การวิเคราะห์ตัวอย่าง 1) วิเคราะห์ลักษณะของน้ำเสียก่อนเข้าระบบและออกจากระบบบำบัด - ค่า BOD, COD, pH, SS, TKN, TP และค่าโลหะหนัก - เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานน้ำทิ้ง 2) วิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณควบคุมระบบ - ค่า DO, MLSS, MLVSS, SV30และ SVI 3) ตรวจสอบอัตราการไหลของน้ำเสีย - อัตราการไหลควรมีค่าคงที่ตลอด 24 ชม. 4) วิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ควบคุมระบบในถังเติมอากาศ - ค่า F/M, BOD:N:P:Fe, HRT และ SRT(อายุสลัดจ์)

  20. การตรวจสอบลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์การตรวจสอบลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ SV30 MLSS จากถังเติมอากาศ 1 ลิตร ปริมาตรสลัดจ์ ทิ้งไว้ 30 นาที

  21. การทดสอบการตกตะกอนของสลัดจ์การทดสอบการตกตะกอนของสลัดจ์

  22. ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ ตกตะกอนช้า ตกตะกอนได้ดี ตกตะกอนเร็ว ปริมาตรสลัดจ์ (มล.) เวลาในการตกตะกอน (นาที)

  23. ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ สลัดจ์ตกตะกอนอย่างรวดเร็วใน 10 นาทีแรก เวลาในการตกตะกอน (นาที)

  24. ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ลักษณะการตกตะกอนของสลัดจ์ ระยะเวลาตกตะกอน 30 นาที สิ่งที่เห็น ผลสรุป การแก้ไข 1) สลัดจ์สีน้ำตาลอ่อน ตกตะกอนช้า น้ำขุ่น เกิดฟองสีขาวในถังปฏิกรณ์ อายุสลัดจ์ต่ำ เป็นธรรมดาสำหรับระยะเริ่ม เดินระบบ . . . . . 2) สลัดจ์สีน้ำตาลเข้ม ตกตะกอนเร็ว น้ำใสมาก ปริมาตรสลัดจ์ 100-200 มล. ระบบทำงานปกติ 3) สลัดจ์สีน้ำตาลเข้มมาก ปริมาตรสลัดจ์ 200-300 มล. ระบบทำงานปกติ มีสลัดจ์มากเกินไปในถังเติม อากาศ ต้องสูบสลัดจ็ส่วนเกินออกมากขึ้น ให้เหลือสลัดจ์ 100-200 มล. เมื่อทดสอบ SV30 4) สลัดจ์สีน้ำตาลเข้ม ตกตะกอนเร็ว ตั้งทิ้งไว้ 1-2 ชม. สลัดจ์ลอยขึ้นผิวน้ำ เกิดดีไนตริฟิเคชัน อาจมีการสะสมของสลัดจ์ก้นถังเติมอากาศ สูบสลัดจ์ส่วนเกินออกมากขึ้น ให้เหลือสลัดจ์ 100-200 มล. เมื่อทดสอบ SV30 5) สลัดจ์สีน้ำตาล ตกตะกอนช้า น้ำขุ่น น้ำเสียอาจเข้าระบบมากเกินไป การกวนอาจไม่พียงพอ ลดการสูบสลัดจ์ส่วนเกินเพื่อเพิ่มสลัดจ์ ตรวจสอบอุปกรณ์เติมอากาศ . . . . .

  25. การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ 1) ตรวจสอบชนิดของจุลินทรีย์ที่ทำงานอยู่ภายในถังเติมอากาศ - โปรโตซัวชนิดซิลิเอท - โรติเฟอร์ - ถ้าพบทั้งสองชนิดระบบเอเอสทำงานได้อย่างดี 2) ตรวจสอบในกรณีที่สลัดจ์ไม่จมตัว (Bulking Sludge) สลัดจ์อืด - จุลินทรีย์เส้นใย (Filamentous Microorganisms)

  26. ฟล็อกแบบต่างๆ ในระบบเอเอส

  27. กลุ่มแบคทีเรียที่ตกตะกอนได้ดีกลุ่มแบคทีเรียที่ตกตะกอนได้ดี

  28. โปรโตซัวชนิดซิลิเอท (stalk)

  29. ซิลิเอท ซิลิเอท ซิลิเอท โรติเฟอร์ โรติเฟอร์

  30. ตกตะกอนได้ดี จำนวน จุลินทรีย์ เวลา น้อย SRT มาก มาก น้อย F/M

  31. สภาวะของจุลินทรีย์ สารอินทรีย์ จุลินทรีย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของระบบเอเอส ธาตุอาหาร ระยะเวลาในการบำบัด การกวน อัตราการไหล อุณหภูมิ DO สารพิษ pH สภาวะทางสิ่งแวดล้อม

  32. ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของระบบเอเอส ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของระบบเอเอส 1) สารอินทรีย์ : อัตราส่วนของสารอาหารต่อจุลินทรีย์(F/M) - ถ้า F/M สูง - จุลินทรีย์เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว กระจัดกระจายไม่รวมตัว - ตกตะกอนได้ไม่ดี น้ำที่ผ่านการบำบัดมีความขุ่น ค่าบีโอดีสูง - ถ้า F/M ต่ำ - จุลินทรีย์เจริญเติบโตน้อยลง ตกตะกอนได้แต่ไม่หมด ลักษณะเป็นก้อนเล็กกระจัดกระจาย (pin floc) - น้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วมีความขุ่น

  33. F/M ต่ำ F/M สูง

  34. F/M สูง F/M ต่ำ

  35. 2) ธาตุอาหาร : ธาตุอาหารที่ต้องการนอกจากสารอินทรีย์ - ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) เหล็ก (Fe) - อัตราส่วนที่เหมาะสม BOD : N : P : Fe = 100 : 5 : 1 : 0.5 - การขาดธาตุอาหารทำให้แบคทีเรียเส้นใยเจริญเติบโต ทำให้สลัดจ์ไม่จมตัว สลัดจ์อืด (Bulking sludge) - N เติมด้วยยูเรียP เติมด้วยกรดฟอสฟอริก Fe เติมด้วยเฟอร์ริกคลอไรด์

  36. 3) ออกซิเจนละลาย (DO) - ในถังเติมอากาศ : DO  2 มก./ล. - การละลายน้ำของออกซิเจนขึ้นกับอุณหภูมิ - ออกซิเจนละลายน้ำได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูง

  37. 4) ระยะเวลาในการบำบัด : (HRT, DT) -ระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสียในถังเติมอากาศต้องมากพอ - มลสารบางชนิดย่อยสลายยาก - ระยะเวลากักพักในถังตกตะกอน - น้อยไป : สลัดจ์ตกตะกอนไม่ดี - มากไป : สลัดจ์ขาดออกซิเจน เน่าได้

  38. 5) พีเอช(pH) - ค่า pH ที่เหมาะสม = 6.5 – 8.5 - ถ้าค่า pH ต่ำกว่า 6.5 เชื้อราเจริญได้ดี สลัดจ์ตกตะกอนไม่ดี 6) สารพิษ * สารพิษเฉียบพลันทำให้จุลินทรีย์ตายหมดในเวลาสั้น เช่น ไซยาไนด์ กรด ด่าง สารเคมีอื่น ๆ * ไขมันเคลือบเซลจุลินทรีย์ทำให้ไม่ได้รับออกซิเจน

  39. 7) อุณหภูมิ - ทุก 10 OC ที่เพิ่มขึ้น จุลินทรีย์เจริญเติบโตเพิ่มขี้นเท่าตัว การเจริญเติบโตสูงสุดที่ 37 OC - ออกซิเจนละลายน้ำได้น้อยลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น - อุณหภูมิต่ำสลัดจ์ตกตะกอนได้ดี - อุณหภูมิแตกต่างเกิน 2 OC อาจเกิดการไหลวนในถังตกตะกอน น้ำอุณหภูมิสูงจะขึ้นสู่ด้านบน

  40. 8) การกวน - ป้องกันการตกตะกอนของจุลินทรีย์ - ทำให้จุลินทรีย์สัมผัสน้ำเสียอย่างทั่วถึง ไม่เกิดการไหลลัดวงจร - การกวนอย่างสมบูรณ์ทำให้ทุกจุดในถังเติมอากาศมีความเข้มข้นเท่ากัน 9) อัตราการไหล - อัตราการไหลที่เพิ่มขึ้นมีผลต่อ - ถังเติมอากาศ : ระยะเวลาบำบัดลดลง สารอินทรีย์เพิ่มขึ้น - ถังตกตะกอน : ระยะเวลาการตกตะกอนลดลง - อัตราการไหลควรมีค่าสม่ำเสมอ

  41. การควบคุมการทำงานของระบบเอเอสการควบคุมการทำงานของระบบเอเอส ถังปรับสภาพ ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอน น้ำเสีย สลัดจ์หมุนเวียนกลับ สลัดจ์ส่วนเกิน เครื่องรีดน้ำสลัดจ์ ถังย่อยสลัดจ์ ถังทำข้น สลัดจ์แห้ง

  42. ตัวแปรที่ใช้ออกแบบระบบเอเอสแบบกวนสมบูรณ์ตัวแปรที่ใช้ออกแบบระบบเอเอสแบบกวนสมบูรณ์ ถังเติมอากาศ ถังตกตะกอน • - อัตราส่วนอาหารต่อจุลินทรีย์ (F/M) • 0.2 – 0.6 กก.บีโอดี/กก.MLVSS-วัน • - อัตราภาระบีโอดีต่อปริมาตรถัง • 0.8 – 1.9 กก. บีโอดี/ลบ.ม.-วัน • - MLSS 2,500 – 4,000 มก./ล. • - อายุสลัดจ์ 5 - 15 วัน • เวลาเก็บพักน้ำเสีย 3 – 5 ชม. • อัตราส่วนสูบสลัดจ์กลับ 0.25 – 1.0 • ออกซิเจนละลาย 2.0 มก./ล. • pH 6.5 – 7.5 • BOD:N:P 100:5:1 - อัตราน้ำล้น 16 – 33 ลบ.ม/ตร.ม..-วัน - อัตราภาระของแข็ง 3 – 6 กก./ตร.ม.-ชม. - อัตราน้ำล้นฝาย 250 ลบ.ม./ม.-วัน - ดัชนีปริมาตรสลัดจ์ (SVI) 100 – 200 มล./กรัม

  43. การควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอนการควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอน ชั้นสลัดจ์(Sludge Blanket) สลัดจ์ถูกเก็บอยู่ภายในถังตกตะกอนเป็นชั้นสลัดจ์

  44. การควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอนการควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอน ชั้นสลัดจ์ที่เก็บภายในถังมีปริมาณมากเกินไป

  45. การควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอนการควบคุมปริมาณสลัดจ์ในถังตกตะกอน ระดับความสูงของชั้นสลัดจ์ปกติ สลัดจ์ที่เก็บไว้ควรสูงไม่เกิน 1 ใน 3 ของความจุถัง (โดยควบคุมระดับความสูงของชั้นสลัดจ์ 0.3-1.0 ม.)

  46. การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องกวาดตะกอนการดูแลและบำรุงรักษาเครื่องกวาดตะกอน - ตรวจสอบการสั่นสะเทือน การติดขัดของเครื่อง ประจำวัน - กรณีถังสี่เหลี่ยมให้ตรวจสอบสภาพโซ่ ประจำวัน - เติมน้ำมันหล่อลื่น อัดจารบี ประจำสัปดาห์ - ตรวจสอบการสึกหรอของตลับลูกปืน ปลอกเพลา ประจำปี และใบกวาดตะกอน - ล้างทำความสะอาดและตรวจสอบสนิมโครงสร้าง ประจำปี ของเครื่องกวาด - ในกรณีที่หยุดเครื่องกวาดตะกอนเป็นเวลานาน ควรถ่ายสลัดจ์ออกก่อนเริ่มเดินเครื่องกวาดตะกอน และให้ตรวจสอบแรงบิด

  47. 1) การควบคุมดูแลเครื่องสูบน้ำ - การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ 2) การควบคุมดูแลเครื่องเติมอากาศ - การวัดค่า DO ในถังเติมอากาศ - การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศ - เครื่องเติมอากาศผิวน้ำ - เครื่องเติมอากาศแบบหัวฟู่กระจายอากาศ - หัวฟู่กระจ่ายอากาศ - เครื่องเป่าอากาศ

  48. การควบคุมดูแลเครื่องจักรอื่น ๆ 1) การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ - ตรวจสอบการไหลว่าสม่ำเสมอ ประจำวัน - ตรวจสอบการสั่นสะเทือน / เสียงผิดปกติ ประจำวัน - ตรวจสอบรอยรั่วไหล ประจำวัน - เติมน้ำมันหล่อลื่น ประจำสัปดาห์ - ตรวจสอบการสึกหรอของตลับลูกปืน ปลอกเพลา ประจำปี และใบพัด - ตรวจสอบการสึกหรอของประเก็นกันน้ำ (รอยต่อ) ทุก 6 เดือน - ตรวจสอบมอเตอร์ไฟฟ้าและเติมน้ำมันหล่อลื่น ทุก 6 เดือน

More Related