1 / 27

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก. 1. ศ. ดร. ปราณี กุลละวณิชย์ ประธานคณะกรรมการ 2. ศ. นพ วิจารณ์ พานิช กรรมการ 3. รศ. ดร. บรรพต ณ ป้อมเพชร กรรมการ 4. รศ. ดร. รัศมีดารา หุ่นสวัสดิ์ กรรมการ 5. รศ. ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ

Download Presentation

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยินดีต้อนรับคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก 1. ศ. ดร. ปราณี กุลละวณิชย์ ประธานคณะกรรมการ 2. ศ. นพ วิจารณ์ พานิช กรรมการ 3. รศ. ดร. บรรพต ณ ป้อมเพชร กรรมการ 4. รศ. ดร. รัศมีดารา หุ่นสวัสดิ์ กรรมการ 5. รศ. ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ 6. รศ. ดร. สมบูรณ์วัลย์ สัตยารักษวิทย์ กรรมการ 7. รศ. ดร. วิเชียร ชิวพิมาย กรรมการ 8. รศ. จันทนี เพชรานนท์ กรรมการและเลขานุการ

  2. สารบัญการนำเสนอ • ข้อมูลเบื้องต้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • ผลการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • แนวทางการพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  3. ข้อมูลเบื้องต้นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ข้อมูลเบื้องต้นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย รศ. ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ฝ่ายวางแผนและพัฒนา

  4. พระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนกพระราชปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์ เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ จะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพ ไว้ให้บริสุทธิ์

  5. วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ ในภูมิภาคเอเชีย ที่ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน

  6. พันธกิจ • พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นชุมชนทางวิชาการ  ตั้งแต่ระดับท้องถิ่นไปจนถึงระดับนานาชาติ โดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึงความรู้ในหลากหลายรูปแบบ • สร้างความเป็นผู้นำทางวิชาการในสาขาที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต้ และเชื่อมโยงสู่เครือข่ายสากล • ผสมผสานและประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์ การปฏิบัติ สู่การสอน เพื่อสร้างปัญญา สมรรถนะ และโลกทัศน์สากลให้แก่บัณฑิต

  7. สถานภาพปัจจุบันของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  8. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - นศ(ทั้งหมด 2548) = 31,650 วิทยาเขตสุราษฏร์ - นศ. (1,531..4.8%) วิทยาเขตตรัง - นศ. (2,083…6.5%) วิทยาเขตหาดใหญ่ - นศ. (17,471...55.1%) วิทยาเขตภูเก็ต - นศ. (2,147…6.8%) วิทยาเขตปัตตานี - นศ. (8,506…26.8%)

  9. โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ

  10. โครงสร้างการบริหาร

  11. จำนวนนักศึกษาจำแนกตามกลุ่มสาขา (31,650 คน)

  12. จำนวนนักศึกษาจำแนกตามระดับและกลุ่มสาขาจำนวนนักศึกษาจำแนกตามระดับและกลุ่มสาขา

  13. สัดส่วนนักศึกษาจำแนกตามกลุ่มสาขาสัดส่วนนักศึกษาจำแนกตามกลุ่มสาขา

  14. จำนวนและสัดส่วนบุคลากร (8,039.50 คน)

  15. งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2548 (3,058 ล้านบาท)

  16. งบประมาณ & จำนวน นศ. ทั้งหมด หมายเหตุ ปี 49 เงินรายได้ตัวเลขประมาณการ

  17. งบประมาณจำแนกตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพปีงบประมาณ 2547 มาตรฐาน 6 130.867 ล้านบาท (5.7%) มาตรฐาน 7 3.880 ล้านบาท (0.2%) มาตรฐาน 5 781.763 ล้านบาท (34.3%) มาตรฐาน 4 11.976 ล้านบาท (0.5%) มาตรฐาน 1 1,036.411 ล้านบาท (45.4%) มาตรฐาน 2 238.891 ล้านบาท (10.5%) มาตรฐาน 3 78.627 ล้านบาท (3.4%)

  18. งบประมาณจำแนกตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพปีงบประมาณ 2548 มาตรฐาน 7 (5.00 ดีมาก) 4.410 ล้านบาท (0.2%) มาตรฐาน 6 (3.56 ดี) 198.728 ล้านบาท (7.6%) มาตรฐาน 1 (4.75 ดีมาก) 997.326 ล้านบาท (38.0%) มาตรฐาน 5 (4.73 ดีมาก) 1030.848 ล้านบาท (39.3%) มาตรฐาน 2 (4.60 ดีมาก) 288.416 ล้านบาท (11.0%) มาตรฐาน 4 (4.50 ดี) 18.171 ล้านบาท (0.7%) มาตรฐาน 3 (5.00 ดีมาก) 88.328 ล้านบาท (3.4%)

  19. งบประมาณจำแนกตามกลุ่มสาขา ปีงบประมาณ 2547 สนับสนุนวิชาการ (3.4%) สนับสนุนการบริหาร (15.2%) สหวิทยาการ (0.2%) วิทย์สุขภาพ (32.9%) ศิลปกรรมวิจิตรศิลป์ (0.2%) สังคม และมนุษยศาสตร์ (9.9%) ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ (2.8%) เกษตรศาสตร์ (6.8%) วิศวฯ (7.6%) วิทย์กายภาพ (15.2%) บริหารธุรกิจฯ (5.8%)

  20. งบประมาณจำแนกตามกลุ่มสาขา ปีงบประมาณ 2548 วิทย์สุขภาพ (4.70 ดีมาก) (27.4%) สนับสนุนการบริหาร (23.0%) วิทย์กายภาพ (4.53 ดีมาก) (14.8%) สนับสนุนวิชาการ (2.4%) สหวิทยาการ 3.73 ดี (0.5%) วิศวกรรมศาสตร์ (4.73 ดีมาก) (8.4%) ศิลปกรรมศาสตร์ (3.79 ดี) (0.2%) เกษตรศาสตร์ (4.50 ดี) (7.2%) สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ (3.83 ดี) (7.2%) บริหารธุรกิจฯ (3.75 ดี) (5.4%) ศึกษาศาสตร์ (4.04 ดี) (3.5%)

  21. จำนวนนักศึกษาเปรียบเทียบ ปีการศึกษา 2548 ที่มา http://www.mua.go.th/infodata/48/tb6_48.htm

  22. Webometricsกับการจัดอันดับมหาวิทยาลัย ทั่วโลก3000แห่ง 1970 Heriot Watt & Cambridge SP in U.K. 53 High Tech Park 33 Incubators 40 Tech Development Zone MITI initiatives: Technopolis >20 Prefectures 1st SP: Standford Park Est.1960 for Hewlett & Packard >100locations Singapore Science Park “Best address for R&D in Asia” Est 1980 Technology Park Malaysia Est. by MOSTE in 1988 Model: Science based Industrial Park

  23. ใน 100 อันดับแรกของมหาวิทยาลัยชั้นนำของทวีปเอเชีย Tokyo University อยู่อันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับอยู่ 7 แห่ง

  24. อันดับ 7 ของประเทศไทย อันดับ 75 ของเอเซีย อันดับ 942 ของโลก

  25. การจัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยไทย โดย NUS (ข้อมูลปี 2546) ม.อ.อันดับ 6 ด้าน Overall Multidiscipline

  26. การจัดอันดับคุณภาพของมหาวิทยาลัยไทย โดย NUS (ข้อมูลปี 2546) ม.อ.อันดับ 4 ด้าน Science and Technology

More Related