1 / 24

การประเมินผลการปฏิบัติงาน

สำนักงาน ก.พ. การประเมินผลการปฏิบัติงาน. พ้จากงาน. เน้นกระบวนการ. เน้นความเชื่อมโยงกับองค์กร. การพ้นจากราชการ. การวางแผนกำลังคน. สวัสดิการ. การบริหาร ทรัพยากรบุคคล. การกำหนดตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน. การพัฒนาบุคคล. การเลื่อนขั้นเงินเดือน. ราชการ. การสรรหาและ เลือกสรร.

Download Presentation

การประเมินผลการปฏิบัติงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงาน ก.พ. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

  2. พ้จากงาน เน้นกระบวนการ เน้นความเชื่อมโยงกับองค์กร การพ้นจากราชการ การวางแผนกำลังคน สวัสดิการ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล การกำหนดตำแหน่ง และอัตราเงินเดือน การพัฒนาบุคคล การเลื่อนขั้นเงินเดือน ราชการ การสรรหาและ เลือกสรร การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินผล การปฏิบัติงาน การทดลอง ปฏิบัติราชการ การโอน-ย้าย การบรรจุแต่งตั้ง สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ วิวัฒนาการการบริหารทรัพยากรบุคคล Human Capital Management

  3. เน้นกระบวนการ เน้นความเชื่อมโยงกับองค์กร วิวัฒนาการของการประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน 2544 การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2518 แบบจรรยาบรรณสำหรับข้าราชการพลเรือน 2495

  4. สำนักงาน ก.พ. การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ HR Alignment การกำหนด ทิศทางการ ดำเนินงานของ บุคคล การพัฒนา ขีดความสามารถ การพัฒนา สิ่งจูงใจ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ HR Capabilities HR Motivation HR Direction/ Strategy

  5. RBM Overview การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ Workshop Executive Training • Survey • Spreadsheet

  6. การเริ่มต้นโดยการเชื่อมโยงกลยุทธ์สู่การวัดผลการปฏิบัติงานการเริ่มต้นโดยการเชื่อมโยงกลยุทธ์สู่การวัดผลการปฏิบัติงาน • ถ้อยแถลงของวิสัยทัศน์ • พันธกิจ • วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ขององค์กรคืออะไร • ผลต่อการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • ผลต่อลูกค้าหรือผู้รับบริการ • ผลในกระบวนการบริหารองค์กร • ผลในความสามารถด้านนวัตกรรมและการเติบโตขององค์กร ถ้าองค์กรบรรลุวิสัยทัศน์ จะส่งผลอย่างไร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ จะบ่งชี้หลักหมายที่จะบรรลุ วิสัยทัศน์ ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องวัดได้ แต่จะใช้เป็นหลักหมาย ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร ปัจจัยหลักแห่งความ สำเร็จ มีอะไรบ้าง ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก จะเป็นตัวประเมินความคืบหน้า ของการปฏิบัติงานตามปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จที่กำหนดขึ้น ซึ่งจะให้คำตอบสำหรับคำถามที่ว่า เราจะวัดผลความสำเร็จ ขององค์กรได้อย่างไร ตัวชี้วัดผลการดำเนิน งานหลัก ประกอบด้วยอะไรบ้าง

  7. Balanced Scorecard Model แนวคิดด้านผู้รับบริการ (Customer Perspective) ปัจจัยใดที่จะทำให้องค์กร ประสบความสำเร็จ ด้านผู้รับบริการ แนวคิดด้านกระบวนการ ภายในองค์กร (Internal-Business-Process Perspective) แนวคิดด้านการเงิน (Financial Perspective) ปัจจัยใดที่ทำให้องค์กร ประสบความสำเร็จ ด้านการเงิน ปัจจัยสำคัญใดที่จะมีผล ทำให้องค์กรมีการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ และมีการ ให้บริการใหม่ๆ อยู่เสมอ แนวคิดด้านการเติบโต และการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective) ปัจจัยใดที่ทำให้องค์กร ยังคงความสามารถในการ เปลี่ยนแปลง พัฒนา และ อยู่รอดได้

  8. สำนักงาน ก.พ.

  9. สำนักงาน ก.พ.

  10. สำนักงาน ก.พ. ขั้นตอนในการกำหนดตัวชี้วัด ทำความเข้าใจ วัตถุประสงค์องค์กร กำหนดผลงาน ของฝ่าย กำหนดผลงาน รายบุคคล กำหนด ตัวชี้วัด กำหนด มาตรฐาน กำหนด วิธีติดตาม

  11. สำนักงาน ก.พ. การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล • เชื่อมโยงเป้าหมายองค์กรสู่บุคคล • เริ่มจากการสร้างตัวชี้วัดระดับองค์กร • แปลงตัวชี้วัดระดับองค์กรสู่ตัวชี้วัดระดับผู้บริหารระดับรองลงไปเรื่อย ๆ • จนถึงระดับบุคคล • ผู้บริหารระดับสูงดึงตัวชี้วัดระดับองค์กรที่ตัวเองรับผิดชอบเข้ามาเป็น • ตัวชี้วัดของตนเอง และพัฒนาตัวชี้วัดอื่น ๆ มาเพิ่ม

  12. สำนักงาน ก.พ. การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล • 2. วิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และผลงานหลัก • เริ่มจากการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน หรือบุคคล • โดยดูจาก • Job Discription • บทบาทและหน้าที่ • กำหนดผลงานหลักของบุคคล • จัดทำตัวชี้วัดผลงานหลักของบุคคลนั้น ๆ

  13. สำนักงาน ก.พ. การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล • 3. เน้นการบริการลูกค้า • เหมาะสมสำหรับหน่วยงานที่จัดทำตัวชี้วัดได้ยาก • เหมาะสมกับหน่วยงานที่เป็นหน่วยงานสนับสนุนต่าง ๆ • เริ่มต้นจากคำถามเหล่านี้ • ใครคือลูกค้าของหน่วยงาน • ลูกค้าภายใน/ภายนอกองค์กร • อะไรคือสินค้าที่ลูกค้าต้องการจากหน่วยงาน

  14. สำนักงาน ก.พ.

  15. มิติ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (CSF) ตัวชี้วัดปัจจัยความสำเร็จ (KPI) ด้านลูกค้า - การบริหารประสานงานให้ได้งบประมาณเพื่อสนับสนุนให้โครงการต่างๆของสวพ. น.1 % จำนวนโครงการที่ขอปรับเปลี่ยนแล้วดำเนินการได้/จำนวนโครงการที่ขอปรับเปลี่ยนทั้งหมด - การช่วยงานผอ. ในการตามงานให้ดำเนินการตามแผนให้ความคิดเห็นถึงจุดที่ควรเน้นในแต่ละปีตลอดจนข้อมูลข้อเสนอแนะในการจัดสรรทรัพยากรเพื่อช่วยในการตัดสินใจ น.3 % จำนวนโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ/จำนวนโครงการที่เสนอทั้งหมด ด้านกระบวนการ - ประสิทธิภาพในการจัดทำรายงานข้อมูลให้กับกลุ่มงานคลังเกี่ยวกับความคืบหน้าการใช้งบประมาณ น.6 % จำนวนรายงานที่เสนอได้ตามเวลา/จำนวนรายงานที่จัดทำ - ประสิทธิภาพในการจัดทำงบประมาณและการจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อให้พร้อมใช้งาน ด้านการเงิน - ประสิทธิภาพของการใช้เงินงบ น.8 % เงินที่ใช้ได้จริงเทียบกับเงินที่กำหนดตามแผนงาน ด้านเรียนรู้พัฒนา - การพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะของบุคลากรและการดูแลบุคลากร น.9 ระดับขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่นิยามได้ด้วย Competency ด้านต่างๆ สำนักงาน ก.พ. สรุปตัวชี้วัดกลุ่มนโยบายและแผน

  16. สำนักงาน ก.พ. การกำหนดตัวชี้วัดและมาตรฐานการปฏิบัติงาน

  17. สำนักงาน ก.พ. มาตรฐานการประเมิน ระดับ 9 ขึ้นไป

  18. สำนักงาน ก.พ. องค์ประกอบของระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

  19. สำนักงาน ก.พ. องค์ประกอบของระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

  20. สำนักงาน ก.พ. การพิจารณาผลการปฏิบัติงาน Secure as you perform ผลการปฏิบัติงานดี ได้รับ : ก้าวหน้าในงาน พิจารณาความดีความชอบ รางวัลตอบแทน ความมั่นคง ฯลฯ ค้นหาสาเหตุ ตามข้อเท็จจริงและหลักฐาน จัดกลุ่มมากกว่า/น้อยกว่า/เท่ากับร้อยละ 5 มอบหมายงานที่เหมาะสม / พัฒนาทักษะที่จำเป็นเพื่อให้ทำงานต่อไป ผลการปฏิบัติงานต้องมีการปรับปรุง/พัฒนาโดยเร็ว ไม่ต้องการปฏิบัติงานต่อ / มีปัญหาสุขภาพ ลาออก

  21. สำนักงาน ก.พ. 15 % = 2 ขั้น 65 % = 1.5 ขั้น 90 – 95 % 10 %– 15 % ผลงานอยู่ในเกณฑ์ 1.5 ขั้น แต่โควตาจำกัด จึงได้เลื่อน 1 ขั้น 5 %– 10 % ที่ผู้บังคับบัญชาต้องเอาใจใส่ / พัฒนา พิจารณาแล้ว ควรจะมีการ พัฒนา / เปลี่ยนงานใหม่ ฯลฯ พิจารณาแล้วมีประสิทธิภาพ ในการทำงานให้ทำงานต่อไป

  22. สำนักงาน ก.พ. การมอบหมายงาน (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 7ว ตัวอย่างแบบการประเมินประสิทธิภาพฯ

  23. สำนักงาน ก.พ. การมอบหมายงาน (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 7ว ตัวอย่างแบบการประเมินประสิทธิภาพฯ

  24. สำนักงาน ก.พ. การมอบหมายงาน (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์งานบุคคล 8ว ตัวอย่างแบบการประเมินประสิทธิภาพฯ

More Related