4.88k likes | 12.5k Views
โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ. Anuban Chaiyaphum School. แรงและความดัน. โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. Home I แรง I แรงลัพธ์ I แรงเสียดทาน I แรงพยุง I ความดันอากาศ I ความดันของเหลว. แรง.
E N D
โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิโรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ Anuban Chaiyaphum School แรงและความดัน โดย นายธัชวุฒิ กงประโคน ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว แรง... หมายถึง สิ่งที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสภาพจากหยุดนิ่งให้เคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนจากเคลื่อนที่อยู่แล้วเป็นหยุดนิ่งเร็วขึ้น ช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทาง นอกจากนี้ยังทำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงรูปทรงและขนาดได้
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ในการดำรงชีวิตแต่ละวัน เราต้องใช้แรงเพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย และลักษณะของแรงที่ใช้มีลักษณะที่แตกต่างกันไปด้วย ตัวอย่างเช่น การออกแรงลากวัตถุ การออกแรงผลักวัตถุ การออกแรงหิ้ววัตถุ การออกแรงยกวัตถุ
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ในทางวิทยาศาสตร์มักจะใช้เส้นและลูกศรแทนขนาดและทิศทางของแรง แรง ก แรง ข แรง ค จากรูปเส้นและลูกศรแทนแรง แสดงว่า แรง ข มีมากกว่าแรง ก เพราะเส้นลูกศรแทนแรง ข มีความยาวมากกว่าเส้นลูกศร แทนแรง ก โดยทั้งแรง ก และแรง ข มีทิศทางไปเดียวกัน คือ ทางขาวมือ แตกต่างจากแรง ค ที่มีทิศทางไปทางซ้ายมือ
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว แรงสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1.แรงที่ได้จากธรรมชาติซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้ 1.1แรงที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิตเช่น แรงลม แรงน้ำ แรงแม่เหล็ก แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นต้น 1.2แรงที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเช่น แรงที่คนใช้ปั่นจักรยาน แรงที่ใช้หิ้วของ แรงที่ใช้ยกสิ่งของต่าง ๆ เป็นต้น 2.แรงที่ได้จากเครื่องจักร หรือเครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แรงที่เกิดจากการทำงานของมอเตอร์พัดลม แรงที่เกิดจากการทำงานของ เครื่องยนต์ในรถประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว แรงลัพธ์... แรงลัพธ์ การออกแรงหลายแรงมากระทำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกัน จะมีค่าเท่ากับการรวมแรงเป็นแรงเดียว แรงที่เป็นผลรวมของแรงหลายแรงนี้ เรียกว่า แรงลัพธ์
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ลักษณะของแรงลัพธ์ แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน(N) สามารถเขียนแทนด้วยลูกศร ความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรงและหัวลูกศรแทนทิศทางของแรงนั้น การหาขนาดของแรงลัพธ์จึงต้องพิจารณาจากขนาดและทิศทางของแรง ตัวอย่างเช่น ข้อที่ 1
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ข้อที่ 2 ข้อที่ 3
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ประโยชน์ของแรงลัพธ์ ในชีวิตประจำวันของเรามีการนำแรงลัพธ์มาใช้ประโยชน์มากมาย ตัวอย่างเช่น การสร้างสะพานแขวนการปั่นจักรยานพ่วง การใช้สุนัขหลาย ๆ ตัวหลากเลื่อน สะพานแขวน การปั่นจักรยานพ่วง สุนัขลากเลื่อน
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว แรงเสียดทาน... แรงเสียดทาน หมายถึง แรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชิ้นที่สัมผัสกัน ซึ่งแรงนี้เป็นแรงที่ผิววัตถุผิวหนึ่งต้านทาน การเคลื่อนที่ของผิววัตถุอีกผิวหนึ่ง ส่งผลทำให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าลงเรื่อย ๆจนกระทั่งหยุดนิ่งในที่สุด
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ลักษณะของแรงเสียดทาน มีทิศทางของแรงตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ เช่น การเตะฟุตบอล - ถ้าผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชนิด เรียบ จะเกิดแรงเสียดทานน้อย วัตถุเคลื่อนที่ได้มาก - ถ้าผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชนิด ไม่เรียบ จะเกิดแรงเสียดทานมาก วัตถุเคลื่อนที่ได้น้อย ถ้าวาง A อยู่บนวัตถุ B ออกแรง ลากวัตถุ วัตถุ A จะเคลื่อนที่หรือไม่ก็ตาม จะมีแรงเสียดทานเกิดขึ้นระหว่างผิวของ A และ B แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันข้ามกับแรง ที่พยายามต่อต้านการเคลื่อนที่ของ A
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ปัจจัยที่มีผลต่อแรงเสียดทาน 1.น้ำหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดลงบนพื้น ถ้าน้ำหนักหรือแรงกดของวัตถุมาก จะเกิดแรงเสียดทานมาก ถ้าน้ำหนักหรือแรงกดของวัตถุน้อยจะเกิดแรงเสียดทานน้อย
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว 2.ลักษณะของพื้นผิวสัมผัส ถ้าพื้นผิวเรียบ เช่น กระเบื้อง กระจก พลาสติก เป็นต้น จะเกิดแรงเสียดทานน้อย เนื่องจากพื้นผิวเรียบ มีการเสียดสีระหว่างกันน้อย
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว การนำแรงเสียดทานไปใช้ประโยชน์ เราสามารถใช้ประโยชน์จากแรงเสียดทาน ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้มากมาย เช่น 1.ทำให้วัตถุหยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่ เช่น ช่วยหยุดรถยนต์ที่กำลังเคลื่อนที่ ยางรถที่มีดอกยางช่วยให้รถเกาะถนนได้ดี เป็นต้น 2.การสร้างพื้นถนนต้องทำให้พื้นถนนเกิดแรงเสียดทานพอสมควร รถจึงจะเคลื่อนที่บนถนนโดยที่ล้อรถไม่หมุนอยู่กับที่ได้ 3.ช่วยในการหยิบจับสิ่งของโดยไม่ลื่นไหลไปมา 4.ช่วยในการเดินไม่ให้ลื่นไหล
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว แรงพยุงหรือแรงลอยตัว... แรงพยุงหรือแรงลอยตัว แรงลอยตัวคือแรงพยุงของของเหลวและแก๊สที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลวและแก๊สนั้น ทำให้วัตถุลอยอยู่ได้ ในชีวิตประจำวันเราจะพบว่าวัตถุบางชนิดลอยอยู่ในน้ำได้ เพราะแรงลอยตัวที่กระทำต่อวัตถุนั้นมีค่าเพียงพอที่จะต้านน้ำหนักของวัตถุ ที่เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลกได้ แต่สำหรับวัตถุบางชนิดที่จมลงในน้ำ แสดงว่าแรงลอยตัวที่กระทำต่อวัตถุนั้นมีค่าน้อยกว่าน้ำหนักของวัตถุ
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ลักษณะของแรงพยุงตัวของของเหลว น้ำหนักชองวัตถุชนิดต่างๆเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งมีทิศทางลงสู่พื้นโลก แต่ถ้าวัตถุนั้นตกลงไปในน้ำ น้ำหนักของวัตถุจะลดลง เพราะมีแรงของน้ำพยุงวัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกับแรงโน้มถ่วงของโลก แรงนี้ เรียกว่า แรงพยุงของของเหลว ซึ่งเป็นแรงของของเหลวที่พยุงวัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกับน้ำหนักของวัตถุ แรงลอยตัวช่วยพยุงไม่ให้วัตถุจม
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว เพิ่มเติม 1.อาร์คิมีดิส นักคิดชาวกรีกเป็นผู้ค้นพบแรงลอยตัว และได้ให้หลักการเกี่ยวกับการจมและการลอยของวัตถุเรียกหลักการนี้ว่า "หลักของอาร์คิมีดิส" กล่าวคือ แรงลอยตัวที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ด้วยปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมในของเหลวนั้น
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว 2.ค่าของแรงที่อ่านได้เมื่อชั่งวัตถุในของเหลว จะมีค่าน้อยกว่าเมื่อชั่งวัตถุในอากาศ เพราะว่าของเหลวมีแรงลอยตัวช่วยพยุงวัตถุไว้ 10 นิวตัน 6 นิวตัน
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ปัจจัยที่มีผลต่อการลอยและการจมของวัตถุ 1.ความหนาแน่นของวัตถุวัตถุแต่ละชนิดจะมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน 1.1ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลววัตถุจะลอยในของเหลว 1.2ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นเท่ากันกับของเหลววัตถุจะลอยปริ่มในของเหลว 1.3ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลววัตถุจะจมในของเหลว
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว 2.ความหนาแน่นของของเหลว ของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีแรงลอยตัวมาก ทำให้พยุงวัตถุให้ลอยขึ้นได้มากกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย เช่น น้ำเกลือมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำเปล่า เมื่อนำไข่ไก่ไปใส่ในน้ำเกลือเปรียบเทียบกับน้ำเปล่า ไข่ไก่ลอยในน้ำเกลือ แต่จมลงในน้ำเปล่า น้ำเกลือ + ไข่ น้ำเปล่า + ไข่
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ประโยชน์ของแรงพยุงของของเหลว นักวิทยาศาสตร์นำความรู้เรื่องแรงพยุงหรือแรงลอยตัวไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น การประดิษฐ์เสื้อชูชีพ เรือ แพยาง เป็นต้น
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ความดันอากาศ... - ความดัน คือ ขนาดของแรงที่กระทำต่อ 1 หน่วยพื้นที่ของวัตถุ - อากาศเป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้ำหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ น้ำหนักของอากาศมีแรงกดหรือแรงดันอนุภาคของอากาศเคลื่อนที่ไปมาได้อย่างอิสระ และตลอดเวลาในทุกทิศทาง โดยจะเคลื่อนที่ชนกันเองและชนกับวัตถุต่าง ๆ ที่ล้อมรอบ ทำให้เกิดแรงดันรอบทิศทาง
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว - แรงดันอากาศหมายถึง แรงที่อากาศกดลงบนผิวของวัตถุในทุกทิศทาง เช่น ถ้าเป่าลูกโป่ง อากาศที่เข้าไปด้านในจะดันลูกโป่งให้พองออกและมีขนาดใหญ่ขึ้น ขณะเดียวกันอากาศที่อยู่ภายนอกก็ออกแรงดันลูกโป่งทุกทิศทางด้วยเช่นกัน เป็นต้น ความดันอากาศหรือความกดอากาศ คือ ความดันอากาศที่กระทำทุกแห่งของโลก
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว เครื่องวัดความดันอากาศ เรียกว่า บารอมิเตอร์ ความดัน 1 บรรยากาศจะดันให้ปรอทสูง 760 มิลลิเมตรของปรอท ในระดับน้ำทะเลในแนวตั้งฉากกับผิวโลก
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ถ้าสูงจากระดับน้ำทะเลความดันอากาศจะลดลงเรื่อยๆ
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ประโยชน์ของความดันอากาศ 1.การดูดน้ำออกจากขวดโดยใช้หลอดดูด 2.การดูดของเหลวเข้าหลอดหยดหรือเข็มฉีดยา 3.การเจาะกระป๋องนมต้องเจาะ 2 รู เพื่อให้อากาศในกระป๋องนมมีความดันอากาศเท่ากับความดันภายนอกกระป๋องนมทำให้สามารถเทนมออกจากกระป๋องนมได้ 4.การถ่ายของเหลวโดยสายยางจากภาชนะหนึ่งไปยังอีกภาชนะหนึ่งที่อยู่ต่างระดับกัน เรียกว่า “กาลักน้ำ” 5.การใช้แป้นยางดูดติดกับกระจกเพื่อยึดสิ่งของให้ติดกับกระจก เนื่องจากความดันอากาศภายนอกมากกว่าความดันอากาศภายในแป้นยาง จึงกดหัวแป้นยางให้ดูดติดกับกระจก
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ความดันของเหลว... ความดันของเหลว ความดันของของเหลวมีลักษณะคล้ายกับความดันอากาศ คือ เกิดจากน้ำหนักของของเหลวที่มีอยู่เหนือตำแหน่งนั้น ๆกดทับลงมา ยิ่งในระดับที่ลึกมากขึ้น ของเหลวที่อยู่เหนือตำแหน่งนั้นก็จะมีมากขึ้น ทำให้น้ำหนักของของเหลวมีมากขึ้น
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ปัจจัยที่มีผลต่อความดันของของเหลว 1. ความลึกของของเหลว - ของเหลวไม่ว่าจะอยู่ในภาชนะรูปร่างใดก็ตาม ถ้าที่ระดับความลึกเดียวกัน ความดันของของเหลวจะเท่ากันที่ระดับความลึกเดียวกัน น้ำจะมีความดันเท่ากัน -แต่ถ้าระดับความลึกต่างกัน ของเหลวที่อยู่ระดับลึกกว่า จะมีความดันมากกว่า ที่ระดับความลึกต่างกัน น้ำที่ระดับความลึก มากกว่าจะมีความดันมากกว่า
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว • 2. ความหนาแน่นของของเหลว • ของเหลวต่างชนิดกันจะมีความดันต่างกัน โดยของเหลวที่มีความหนาแน่นมาก จะมีความดันสูงกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย น้ำเปล่า น้ำเชื่อม 10เซนติเมตร 20เซนติเมตร
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว ประโยชน์ของความดันของเหลว เรานำความรู้เกี่ยวกับความดันของของเหลวไปใช้ประโยชน์ เช่น ... • 1. การสร้างเขื่อน ต้องสร้างให้ฐานเขื่อนมีความกว้างมากกว่าสันเขื่อน เพราะแรงดันของน้ำบริเวณฐานเขื่อนมากกว่าแรงดันของน้ำบริเวณสันเขื่อน สันเขื่อน แรงดันน้อย แรงดันมาก ฐานเขื่อน *** เขื่อนต้องสร้างให้ฐานเขื่อนกว้างกว่าสันเขื่อน***
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว 2. การออกแบบเรือดำน้ำ จะต้องมีความแข็งแรงและทนทานต่อสภาพความดันสูงในน้ำลึกได้ เพราะยิ่งลึกความดันน้ำจะยิ่งมากขึ้น
HomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลวHomeIแรงIแรงลัพธ์IแรงเสียดทานIแรงพยุงIความดันอากาศIความดันของเหลว อย่าลืม.... ทบทวนเพิ่มเติมเตรียมตัวสอบ นะครับ
เอกสารอ้างอิงขอขอบคุณเนื้อหาและรูปภาพจาก.......เอกสารอ้างอิงขอขอบคุณเนื้อหาและรูปภาพจาก....... • จำนง ภาษาประเทศ และคณะ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้น ป. 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์แม็ค จำกัด,2555 • นคร มีแก้ว.คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ป. 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จำกัด,2554 • ดร.บัญชา แสนทวี, ลัดดา อินทร์พิมพ์ และดารุณี ชวดศรี.คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ป. 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด,2551 • “แรง”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaigoodview.com/node/45977 • “แรงและความดัน”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID =70361 • ศิริรัตน์ วงศ์ศิริและรักซ้อน รัตน์วิจิตต์เวช.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้น ป. 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร : บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด,2554