1 / 123

โรงเรียนเอกชน ……… จะก้าวเดินอย่างไร ?

โรงเรียนเอกชน ……… จะก้าวเดินอย่างไร ?. ให้รู้ทันอา เชี่ยน ดร . จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี. รู้เรา รู้เขา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง รู้เรา ไม่รู้เขา ชนะหนึ่งครั้ง แพ้หนึ่งครั้ง สลับกันไป ไม่รู้เรา ไม่รู้เขา

cade-newman
Download Presentation

โรงเรียนเอกชน ……… จะก้าวเดินอย่างไร ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงเรียนเอกชน………จะก้าวเดินอย่างไร?โรงเรียนเอกชน………จะก้าวเดินอย่างไร? ให้รู้ทันอาเชี่ยน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี

  2. รู้เรา รู้เขา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง รู้เรา ไม่รู้เขา ชนะหนึ่งครั้ง แพ้หนึ่งครั้ง สลับกันไป ไม่รู้เรา ไม่รู้เขา รบร้อยครั้ง แพ้ร้อยครั้ง ซุนวู

  3. ประชาคมอาเซียน 2558 : ความจริงหรือความฝัน?

  4. อาเซียน(ASEAN) • Association for South EastAsian Nations • ประชาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

  5. ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore

  6. สมาชิกเพิ่มเติม บรูไน ดารุสซาลาม ปี1984 เวียดนาม ปี 1995 ลาว ปี 1997 พม่า ปี 1997 กัมพูชา ปี 1999 สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 ไทย มาเลเชีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สมาชิกอาเซียน

  7. ประชาคมอาเซียน 2558

  8. ความร่วมมือของอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก

  9. เป้าหมายของอาเซียน • ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ รวมเป็นประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ.2558 • มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร • เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุนและการลงทุนอย่างเสรี • แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ • ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน

  10. Blueprints : APSC • เพื่อให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี • ร่วมกันเผชิญหน้าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ • ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล

  11. Blueprints : AEC • เพื่อให้ภูมิภาคมีความมั่งคั่ง มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ • ทำให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • ให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน และเงินทุน • พัฒนาฝีมือแรงงาน และให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี

  12. Blueprints : ASCC • เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน • เสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน • สร้างประชาสังคมที่เอื้ออาทร • ส่งเสริมความยั่งยืนเรื่องสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า

  13. สำคัญอย่างไรกับคนไทย • ข้อตกลงทุกข้อนั้น • ทุกประเทศต้องปฏิบัติตามทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง • ประเทศใดในอาเซียนปฏิบัติไม่ได้ตามข้อตกลง ต้องยอมรับและสละสิทธิ์นั้น

  14. ผลกระทบ การ ศึกษา ปรับตัว มาตร ฐาน เท่าเทียม รักภูมิใจไทย รู้เขา รู้เรา

  15. การคมนาคมข้ามพรมแดน สะดวก รวดเร็ว และประหยัดขึ้น

  16. จีน • ภาพรวมของ EWEC • เชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิก-มหาสมุทรอินเดีย • การไหลเวียน • ทุน • สินค้า-บริการ • ประชากร • ข้อมูลสารสนเทศ และความรู้ พม่า ลาว EWEC เวียดนาม ไทย กัมพูชา ช่องแคบมะละกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ช่องแคบซุนด้า ช่องแคบลอมบ็อค แหล่งที่มาของข้อมูล : www.thai-canal.com

  17. Economic Corridor (R9) route between Nanning-Bangkok over 1,900 kmNanning-Hanoi (Road No.1) Kwangbing (Road No.9) – Sawannakhet –Mookdaharn-KhonKaen-Bangkok What we prepared for our students?

  18. East-West Economic Corridor

  19. การสร้างความเป็นภูมิภาคการสร้างความเป็นภูมิภาค จุดประสงค์ของการรวมตัวเป็นภูมิภาค • ผลประโยชน์ร่วมกัน • สันติภาพและความปลอดภัย • อำนาจทางการเมือง&ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน • ภูมิภาคที่เข้มแข็ง/ศักยภาพในการแข่งขัน

  20. วิธีการสร้างความเป็นภูมิภาควิธีการสร้างความเป็นภูมิภาค • ลดหรือกำจัดอุปสรรคต่างๆ • กระชับความร่วมมือ • ผสมผสานกิจกรรมต่างๆทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมเข้าด้วยกัน • ยอมรับและเห็นคุณค่าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละชาติ

  21. ข้อท้าทายในการสร้างประชาคมอาเซียนchallenges for ASEAN Community Building • เพิ่มความตระหนักรู้ของประชาคมและความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกันของประชากรในประเทศสมาชิกอาเซียน • การจัดให้มีกิจกรรมความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ยั่งยืนและเพียงพอ

  22. ข้อท้าทายในการสร้างประชาคมอาเซียนchallenges for ASEAN Community Building • การลดช่องว่างการพัฒนาของประเทศต่างๆ • การเสริมสร้างให้มีสันติภาพ เสถียรภาพความมั่นคง และอำนาจต่อรอง ในกลุ่มประเทศอาเซียน

  23. ทำไมต้อง...... ขับเคลื่อนอาเซียน

  24. ทำไม?...ต้องเร่งรัด- สร้างสานความเข้าใจ ASEAN COMMUNITY

  25. ๑. ทำไม?...ต้อง ASEAN COMMUNITY?..... ๒. บริหารจัดการ ASEAN ๓. ทุกคน..ในโรงเรียน เรียนรู้ ASEAN COMMUNITY อย่างไร? ๔. ASEANClassroom & ASEAN STUDY

  26. การพัฒนาการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนการพัฒนาการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน ?

  27. ทำอย่างไร? เพื่อครู/นักเรียน..ของเราจะไม่หล่นไกลเกินไป ASEAN COMMUNTT การเปิดเสรีการค้า และการบริการของ อาเซียน มีผลกระทบ ต่อการบริหารค้าเสรี 20152558

  28. อย่างไรดี...? Education For All

  29. ทิศทางความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียนทิศทางความร่วมมือด้านการศึกษาของอาเซียน East Asia Summit ASEAN+3 SEAMEO ASEAN

  30. การเตรียมความพร้อมของประชาชนเพื่อก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน • ไทยและอาเซียนก้าวสู่การเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจโลกในปี 2558 • การศึกษาถูกกำหนดให้เป็นกลไกหลักในการนำอาเซียนก้าวสู่ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และสังคม การมีศักยภาพในการแข่งขัน และอำนาจต่อรองการเจรจากับกลุ่มประเทศในภูมิภาคอื่นๆ รวมทั้ง ประชาคมยุโรป • ประเทศสมาชิกอาเซียนได้กำหนดแผนพัฒนาการศึกษาของประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  31. การจัดการศึกษาของสมาชิกอาเซียนการจัดการศึกษาของสมาชิกอาเซียน • ประเทศสิงคโปร์ กำหนดแผนพัฒนาการศึกษาในทุกระดับเพื่อพัฒนาสังคม แห่งการเรียนรู้ เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้นำแห่งเอเชียด้านศูนย์กลางการศึกษาระดับมาตรฐานโลก มีเป้าหมายให้นักเรียนและนักศึกษาจากประเทศต่างๆ เข้าศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงระดับอุดมศึกษา จำนวนประมาณ ๖๖,๐๐๐ คน ภายในปี ค.ศ ๒๐๑๒ • ประเทศฟิลิปปินส์ ให้ความสำคัญต่อการลงทุนทางการศึกษา สนับสนุน การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การสร้างทักษะความเชี่ยวชาญทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร การจัดการศึกษานอกระบบ และการฝึกอบรมด้านเทคนิคและวิชาชีพ

  32. ประเทศมาเลเซีย เน้นการพัฒนาระบบการศึกษาที่มีคุณภาพโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ เปิดโอกาสในการพัฒนาความสามารถพิเศษของแต่ละบุคคล เน้นการผลิตกำลังคนให้มีความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยี มีทักษะการคิด ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม สร้างสังคมบนพื้นฐานแห่งทักษะ และความรอบรู้ภายใต้ระบบการศึกษา “world class education system” ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยให้การศึกษาเป็นหนึ่งใน 8 ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ ให้ความสำคัญต่อการลงทุนการศึกษา และการพัฒนาด้านโครงสร้าง ICT ประเทศอินโดนีเซีย จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ เน้นการพัฒนาความเป็นมืออาชีพของบุคลากรการศึกษา การพัฒนาครู สถาบันการศึกษา การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริหารโรงเรียน

  33. ประเทศไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เน้นการเตรียมความพร้อมและปรับตัวสู่บริบทโลกและภูมิภาค สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยในส่วนของอาเซียน เน้นการสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร และเสริมสร้างสถาบันการศึกษาให้มีมาตรฐาน สปป ลาว กัมพูชา มีการพัฒนาการศึกษาภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการกระจายโอกาสทางการศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่สากล เวียดนาม ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคน และการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

  34. เราเตรียมคนอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนของประเทศ เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน

  35. จุดเปลี่ยนครั้งสำคัญของประเทศไทยใน 1 มกราคม 2558

  36. 1.ข้อตกลงยอมรับร่วมกันในคุณสมบัตินักวิชาชีพอาเซียน(Mutual Recognition ArrangementหรือMRAs) วิศวกรรม การพยาบาล สถาปัตยกรรม การสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ บัญชี

  37. เงื่อนไข 1 มกราคม 2558 หากมีความสามารถและผ่านเกณฑ์เงื่อนตามที่แต่ละประเทศกำหนดได้ จะสามารถเข้าไปทำงานได้ใน 10 ประเทศโดยเสรี

  38. 2.หลังปี 58 มอบให้ผู้ประสานงานหลัก(Country Coordinators) 11 สาขา พม่า-เกษตรและประมง มาเลเซีย-ยางและสิ่งทอ สิงคโปร์-เทคโนโลยีสารสนเทศและสุขภาพ ฟิลิปปินส์-อิเล็กทรอนิกส์ ไทย-ท่องเที่ยวและการบิน

  39. 3.ภาษากลางของอาเซียน • English คือ ภาษาอาเซียน

  40. 4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน4.วัฒนธรรมที่แตกต่างต้องมาอยู่ร่วมกัน • วัฒนธรรมขงจื้อ-เวียดนาม,สิงคโปร์ • วัฒนธรรมพุทธ-ไทย,พม่า,ลาว,กัมพูชา • วัฒนธรรมอิสลาม-มาเลซีย,อินโดนีเซีย,บรูไน • วัฒนธรรมคริสต์-ฟิลิปปินส์

  41. 5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ5.AFAS=เปิดเสรีสินค้าและบริการ • บริการข้ามแดน(Cross-border Supply) • บริโภคต่างประเทศ(Consumption Abroad) • จัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence) • การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา (Presence of Natural Person)

  42. ผลกระทบประเทศไทย:เปิดแรงงานเสรีอาเซียน 58 • การไหลบ่าของแรงงานที่จะเข้ามาแข่งขัน • แรงงานไทยจะขาดแคลนมากยิ่งขึ้น • สมองไหลไปทำงานในต่างประเทศ • ลาว พม่า กัมพูชา จีนและอินเดียจะเข้ามามากยิ่งขึ้น

  43. รูปธรรมที่จะเกิดขึ้น

  44. ไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไปไม่มีพรมแดนมาขวางกั้นอีกต่อไป

  45. ทุกประเทศต้องชูธงของตนเองทุกประเทศต้องชูธงของตนเอง

More Related