690 likes | 918 Views
การประชุมชี้แจงและเตรียมการเกี่ยวกับ การดำเนินการสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6) และ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3) ปีการศึกษา 2552 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). หัวข้อการประชุม. 1. การจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2551 (พ.ศ. 2552) ที่ผ่านมา 1.1 ผลการดำเนินการ
E N D
การประชุมชี้แจงและเตรียมการเกี่ยวกับการประชุมชี้แจงและเตรียมการเกี่ยวกับ การดำเนินการสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6) และ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3) ปีการศึกษา 2552 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
หัวข้อการประชุม 1. การจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2551 (พ.ศ. 2552) ที่ผ่านมา 1.1 ผลการดำเนินการ 1.2 จุดที่ควรปรับปรุง 2. การเตรียมการจัดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2552 (พ.ศ. 2553) 2.1 การเตรียมความพร้อมด้าน คน เงิน งาน และสถานที่ 2.2 กระดาษคำตอบรูปแบบใหม่ 2.3 ข้อพึงระวังในการคุมสอบ
สทศ. คือใคร คือ องค์การมหาชนที่จัดตั้งเมื่อ 3 กันยายน 2548 เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการทดสอบระดับชาติ สทศ. จัดสอบให้ใคร และเพื่ออะไร สอบนักเรียน ป.6 ม.3 ม.6 ปวช. ปวส. และอุดมศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลให้ปรับปรุงการเรียนการสอน และกำหนดนโยบาย
สทศ. จัดสอบอย่างไร 1. ใช้ระบบเครือข่าย ม.6 คือ ศูนย์สอบมหาวิทยาลัย 19 แห่ง ป.6, ม.3 คือ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 185 แห่ง สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด 75 แห่ง สำนักการศึกษา เมืองพัทยา 1 แห่ง สำนักการศึกษา กทม. 1 แห่ง รวม 262 แห่ง
สทศ. จัดสอบอย่างไร (ต่อ) 2. ใช้ระบบกรรมการ อนุกรรมการระดับ สทศ. แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหาร คณะทำงานระดับ สทศ. แต่งตั้งโดยผู้อำนวยการ สทศ. คณะทำงานระดับศูนย์สอบ แต่งตั้งโดยประธานศูนย์สอบ คณะกรรมการดำเนินงานระดับสนามสอบ แต่งตั้งโดยประธานศูนย์สอบ
หน้าที่หลักของศูนย์สอบหน้าที่หลักของศูนย์สอบ 1. ประสานงานกับ สทศ. ดำเนินการตามนโยบาย และแนวปฏิบัติของ สทศ. 2. ประสานงาน กำกับ และติดตาม การส่งข้อมูลโรงเรียน ข้อมูลสนามสอบ ให้เป็นตามกำหนดการของ สทศ. 3. แต่งตั้งคณะทำงานระดับศูนย์สอบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ 4. ควบคุม กำกับ ให้การดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบและสนามสอบ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
หน้าที่หลักของศูนย์สอบ (ต่อ) 5. แก้ปัญหาในการดำเนินการจัดสอบของศูนย์สอบ และสนามสอบ 6. บริหารค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดสอบ จากเงินจัดสรรที่ได้รับจาก สทศ. 7. รายงานสรุปผลการดำเนินการจัดสอบ และสรุปค่าใช้จ่ายในการจัดสอบให้ สทศ. ทราบ
ข้อมูลการจัดสอบชั้น ป.6 ปีการศึกษา 2551 ทั้งประเทศ ศูนย์สอบ 262 แห่ง สนามสอบ 27,741 สนาม โรงเรียน 31,731 แห่ง ห้องสอบ 44,521 ห้อง นักเรียน 987,132 คน
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ป.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลจัดสอบชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2551 ทั้งประเทศ ศูนย์สอบ 260 แห่ง สนามสอบ 10,303 สนาม โรงเรียน 11,553 โรง ห้องสอบ 33,307 ห้อง นักเรียน 856,399 คน
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2551
ข้อมูลการจัดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2551
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมาสรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา ระดับ สทศ. 1. ประกาศรายชื่อ - เลขที่นั่งสอบ ผู้เข้าสอบไม่ถูกต้อง ประกาศเมื่อวันที่ 5 ม.ค. 52 ไม่ตรงกับประกาศหลังจากมี นักเรียนเพิ่มเติม ประกาศรายชื่อนักเรียนปกติสลับกับเด็กพิเศษ นักเรียนคนเดียวกันอยู่ในสนามสอบเดียวกันประกาศชื่อซ้ำ
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับ สทศ.) 2. แบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และเอกสารการสอบไม่ถูกต้อง • ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ(สทศ.2) ของนักเรียนชั้น ม.3 ไม่มีช่องลงนามยืนยันความเรียบร้อยของซองแบบทดสอบ ระบุหน้าซองแบบทดสอบ 20 ชุด มีเพียง 10 ชุด ระบุจำนวนกระดาษคำตอบ 30 แผ่น มีจริง 29 แผ่น กระดาษคำตอบมีหมายเลขไม่เรียงลำดับ
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับ สทศ.) 2. แบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และเอกสารการสอบไม่ถูกต้อง สติ๊กเกอร์สำหรับปิดซองกระดาษคำตอบกลับไม่ครบ จำนวนกล่องปรับขนาดใส่กระดาษคำตอบกลับไม่พอ กล่องปรับขนาดใส่กระดาษคำตอบกลับไม่แข็งแรง และ กระดาษกาวไม่มีคุณภาพ
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมาสรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา ระดับ ศูนย์สอบ 1. ศูนย์สอบไม่ได้จัดห้องสอบและแต่งตั้งกรรมการคุมสอบในห้องสอบเด็กพิเศษ เนื่องจากสนามสอบไม่ได้แจ้ง 2. ในบางศูนย์สอบยังมีโรงเรียนตกหล่น ไม่ได้ส่งข้อมูลนักเรียนภายในช่วงเวลาที่ สทศ. กำหนด 3. ศูนย์สอบจัดส่งเอกสารสำคัญในการดำเนินการจัดสอบให้ สทศ. ล่าช้ากว่ากำหนด
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับศูนย์สอบ) 3.1 การจัดส่งเอกสารสำคัญของ ป.6 ( 262 ศูนย์)
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับศูนย์สอบ) 3.2 การจัดส่งเอกสารสำคัญของ ม.3 ( 260 ศูนย์)
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับศูนย์สอบ) 4. การตรวจรับแบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ จาก สทศ. • คณะทำงานรับ-ส่ง ไม่ทราบกำหนดการที่ สทศ. แจ้ง • ศูนย์สอบไม่ได้เตรียมคนงาน หรือเจ้าหน้าที่ไว้สำหรับ ขนแบบทดสอบ เอกสารและอุปกรณ์การสอบจากรถ ไปเก็บไว้ในสถานที่ปลอดภัย
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับศูนย์สอบ) 5. การรับกล่องกระดาษคำตอบ และบัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบกลับ สทศ. ศูนย์สอบบางแห่งจัดเตรียมกล่องกระดาษคำตอบ และ กรอกข้อมูลในบัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบและ เอกสารฯ จากศูนย์สอบถึง สทศ. ไม่เรียบร้อยตามกำหนด ทำให้เจ้าหน้าที่ สทศ. ต้องรอ หรือต้องไปที่ศูนย์สอบอื่นก่อน
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมาสรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา ระดับโรงเรียน และสนามสอบ โรงเรียนไม่ได้ตรวจสอบข้อมูลทางเว็บไซต์ ทำให้ไม่มีการแก้ไขข้อมูลที่ถูกต้อง รายชื่อนักเรียนตกหล่น เว็บไซต์ปิดบ่อย ทำให้โรงเรียน สนามสอบ ทำงานไม่ทัน การบรรจุ สทศ.2 สทศ.3 ในซองกระดาษคำตอบ และในกล่องกระดาษคำตอบกลับไม่เป็นตามคู่มือจัดสอบ
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับสนามสอบ) สนามสอบกรอกข้อมูลในรายงานสรุปผลการจัดสอบไม่ครบถ้วน กรรมการกลางแจกแบบทดสอบสลับห้องสอบ หัวหน้าสนามสอบ / กรรมการกลาง ตรวจนับกระดาษคำตอบไม่ครบตามจำนวนผู้เข้าสอบจริง
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (ระดับสนามสอบ) มีกระดาษคำตอบของนักเรียนที่ไม่มีชื่อจำนวนมาก สนามสอบออกเลขที่นั่งสอบซ้ำซ้อน ส่งใบเซ็นชื่อเข้าห้องสอบ (สทศ.2) มาไม่ครบ สนามสอบยุบห้องสอบ เลขที่นั่งสอบเดิมไม่ได้ใช้ 11.ใช้เลขที่นั่งสอบของนักเรียนที่ย้ายไปแล้ว ให้กับนักเรียนที่ไม่มีชื่อเข้าสอบแทน
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมาสรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา ระดับกรรมการคุมสอบ กรรมการคุมสอบไม่ได้ปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบ กรรมการคุมสอบลบและแก้ไขหมายเลขกระดาษคำตอบ กรรมการคุมสอบไม่ได้ตรวจสอบการกรอกข้อมูล ที่หัวกระดาษคำตอบให้ละเอียด รวมถึงการระบายให้ครบ กรรมการคุมสอบเก็บกระดาษคำตอบไม่ครบตามจำนวน ผู้เข้าสอบ
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา (กรรมการคุมสอบ) ระบายเลขที่นั่งสอบให้นักเรียนขาดสอบ ทำให้เหมือนนักเรียนเข้าสอบแต่ได้คะแนน 0 เก็บกระดาษคำตอบไม่ครบ เขียนชื่อนักเรียนใน สทศ.2 แทนที่จะเขียนว่า “ขาดสอบ” (ทำให้คิดว่ากระดาษคำตอบหาย)
สรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมาสรุปการจัดสอบปีที่ผ่านมา ระดับนักเรียน เครื่อง OMR ไม่อ่านกระดาษคำตอบ สาเหตุจาก • ขีดเขียนที่เครื่องหมาย paper mark ด้านล่างของกระดาษคำตอบ ไม่ใช้ดินสอ 2B ระบายไม่เข้ม และลบรอยดินสอไม่สะอาด ระบายเลขที่นั่งสอบผิด ไม่ครบ ไม่ระบาย ระบายรหัสวิชาผิด ไม่ครบ ไม่ระบาย
สิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้วสิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้ว
สิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้วสิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้ว
สิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้วสิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้ว
สิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้วสิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้ว
สิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้วสิ่งที่พบจากการดำเนินการจัดสอบปีที่แล้ว
แนวทางการดำเนินการสอบ O-NET ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6) และ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3) ปีการศึกษา 2552 สำหรับศูนย์สอบ
หน่วยงานต้นสังกัดของนักเรียนที่สอบหน่วยงานต้นสังกัดของนักเรียนที่สอบ 1. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 3. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร.ร. สาธิตแห่งมหาวิทยาลัย) 4. สถาบันการพลศึกษา (ร.ร. กีฬา) 5. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ร.ร. ตำรวจตระเวนชายแดน) 6. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(ร.ร. พระปริยัติธรรม)
หน่วยงานต้นสังกัดของนักเรียนที่สอบหน่วยงานต้นสังกัดของนักเรียนที่สอบ 7. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ร.ร. เทศบาล ร.ร. อบต. ร.ร. อบจ.) 8. สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 9. สำนักการศึกษา เมืองพัทยา
โครงสร้างการบริหารการจัดสอบโครงสร้างการบริหารการจัดสอบ 1. ระดับ สทศ. เพื่อกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการทดสอบ 2. ระดับศูนย์สอบ เพื่อกำกับการจัดสอบให้โปร่งใส ได้มาตรฐาน 3. ระดับสนามสอบ เพื่อกำกับการจัดสอบในสนามสอบให้โปร่งใส ได้มาตรฐาน
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการก่อนสอบ การนำส่งข้อมูลนักเรียน โรงเรียน ผ่านwww.niets.or.th
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการก่อนสอบ การบริหารการจัดสอบ
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการก่อนสอบ การบริหารการจัดสอบ (ต่อ)
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการก่อนสอบ การบริหารการจัดสอบ (ต่อ)
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการระหว่างสอบ การบริหารการจัดสอบ
สิ่งที่ศูนย์สอบต้องดำเนินการหลังสอบ การบริหารการจัดสอบ
การจัดสนามสอบและการจัดห้องสอบ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.6) • ให้โรงเรียนเป็นสนามสอบ หรือตามดุลยพินิจของประธานศูนย์สอบ • สลับครูจากโรงเรียนอื่นเป็นกรรมการคุมสอบห้องละ 1 คน หรือจากโรงเรียนอื่นทั้ง 2 คน • จัดนักเรียนเข้าสอบห้องละ 30 คน
การจัดสนามสอบและการจัดห้องสอบ ช่วงชั้นที่ 3 (ม.3) • ให้โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่เป็นสนามสอบ • ในทุกอำเภอต้องมีสนามสอบ • สลับครูจากโรงเรียนอื่นเป็นกรรมการคุมสอบห้องละ 1 คนหรือจากโรงเรียนอื่นทั้ง 2 คน • จัดนักเรียนเข้าสอบห้องละ 30 คน