1 / 26

โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย

โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย. รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 21 กุมภาพันธ์ 2554. ระเบียบวิธีวิจัย. Literature Review

caesar-lara
Download Presentation

โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครอง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยโครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 21 กุมภาพันธ์ 2554

  2. ระเบียบวิธีวิจัย • Literature Review - ใช้ระเบียบวิธีทางสารสนเทศ เพื่อหาคำนิยามของภูมิปัญญา ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย • Field Work - ใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางคติชนวิทยา มานุษยวิทยา - In – depth Interview - Focus Group

  3. คำศัพท์ ภูมิปัญญาไทย คติชาวบ้าน วัฒนธรรมพื้นบ้าน ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชนวิทยา ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น

  4. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  5. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  6. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  7. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  8. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  9. คำนิยาม “ภูมิปัญญา” จากหลายมุมมอง

  10. Focus group เชียงใหม่ (26 ก.พ. 50) มหาสารคาม (2 เม.ย. 50) อยุธยา (11 ก.พ. 50) นครศรีธรรมราช (10 มี.ค. 50)

  11. ภาคกลางวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2550ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ จ.พระนครศรีอยุธยา • ร.ต.อ. กาหลง พึ่งทองคำ ศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย (จ.นนทบุรี) • นายทเม็น นุชทรัพย์ ครูดนตรีไทย (จ.นนทบุรี) • นายสองเมือง พันธุรักษ์ ครูดนตรีไทย (จ.อ่างทอง) • นายวีระ มีเหมือน ครูภูมิปัญญาไทย ด้านศิลปกรรมหัวโขน หนังใหญ่ (จ.สิงห์บุรี) • นายพลัฏฐ์ สุวรรณสิทธิ์ ครูสอนศิลปะและผู้ประสานงานโครงการพัฒนาอนุรักษ์หนังใหญ่ โขนละคร (จ.นนทบุรี) • นายเสน่ห์ แจ่มจิรารักษ์ ครูภูมิปัญญาไทย ด้านศิลปกรรม (ตะลุ่มมุก) (จ.นนทบุรี) • นายสำเนียง ผดุงศิลป์ ครูภูมิปัญญาไทย ด้านหัวโขน (จ.อ่างทอง) • นายนพพล โอฬาร ครูภูมิปัญญา ด้านจิตรกรรมฝาผนัง (จ.นนทบุรี) • นายกฤษณ์ ฤทธิ์เดชา ครูภูมิปัญญาไทย ด้านศิลปะการต่อสู้ (จ.สมุทรสาคร) • นายเกษม ชื่นสงวน นายกสมาคมโกสนแห่งประเทศไทย • พ.ต.อ. (พิเศษ) พยนต์ ชื่นบาน นายกสมาคมเพาะเลี้ยงบอนสีและสมาคมอนุรักษ์บอนสี • นายศักดิ์ แวววิริยะ ครูภูมิปัญญาไทย ด้านการแต่งเพลง (จ.นนทบุรี) • นายขนก ลิมปิพิชัย ผู้จัดการฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ

  12. ภาคเหนือวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา จ.เชียงใหม่

  13. ภาคเหนือวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2550โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา จ.เชียงใหม่

  14. ภาคใต้วันที่ 10 มีนาคม 2550หอสมุดแห่งชาติ จ.นครศรีธรรมราช

  15. ภาคใต้วันที่ 10 มีนาคม 2550หอสมุดแห่งชาติ จ.นครศรีธรรมราช

  16. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือวันที่ 2 เมษายน 2550โรงแรมตักสิลา จ.มหาสารคาม

  17. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือวันที่ 2 เมษายน 2550โรงแรมตักสิลา จ.มหาสารคาม

  18. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือวันที่ 2 เมษายน 2550โรงแรมตักสิลา จ.มหาสารคาม

  19. นิยามภูมิปัญญาไทย องค์ความรู้ซึ่งรวมถึงเทคนิควิธีการที่ดำรงอยู่ในสังคมไทย มีการสั่งสม เรียนรู้ กลั่นกรอง พัฒนาในแต่ละยุคสมัยให้สอดคล้องกับระบบนิเวศ ความเชื่อ เศรษฐกิจและสังคม โดยสืบทอดผ่านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญาจึงเป็นกระบวนการทางปัญญาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ องค์ความรู้ หรือประสบการณ์ที่สั่งสมกันมา เป็นสิ่งที่มีคุณค่าทางจิตใจหรือวัตถุ มีอยู่ ดำรงอยู่หรือพัฒนาให้สอดคล้องกับระบบนิเวศ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคมและวัฒนธรรม โดยสืบทอดกันมารุ่นต่อรุ่นในรูปแบบต่างๆ และมีการใช้อย่างแพร่หลาย องค์ความรู้ที่ได้รับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบทอดหรือใช้ประโยชน์ผ่านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

  20. ประเภทของภูมิปัญญาไทยประเภทของภูมิปัญญาไทย 1. เกษตรกรรม 2. ภาษาและวรรณกรรม 3. ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม 4. ศิลปกรรม 5. นันทนาการ 6. อาหารการกิน 7. หัตถกรรม 8. การประกอบอาชีพ / การทำมาหากิน 9. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 10. เทคโนโลยีพื้นบ้านหรือเทคนิควิธีการ 12. การดูแลสุขภาพและรักษาโรค เกษตรกรรม ภาษาและวรรณกรรม ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม ศิลปกรรม นันทนาการ อาหารและโภชนาการ หัตถกรรม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือภูมิปัญญาไทยอื่นใดใน สาขาวิทยาศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ หรือสาขามนุษยศาสตร์ ทั้งนี้ไม่รวมถึงภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย 1. ภาษาและวรรณกรรม 2. เกษตรกรรม 3. ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม 4. การละเล่น การแสดง ดนตรีและนันทนาการ 5. ศิลปกรรม 6. อาหารและโภชนาการ 7. การแพทย์แผนไทย 8. อุตสาหกรรมและหัตถกรรม 9. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  21. สรุปภาพรวม • ทุกภูมิภาคเห็นความสำคัญในการคุ้มครองภูมิปัญญาไทย ส่วนใหญ่เห็นว่าควรเป็นสมบัติของชาติ • ควรมีการบัญญัติกฎหมายเฉพาะขึ้นมาคุ้มครองพระราชบัญญัติคุ้มครองภูมิปัญญาไทย • ควรมีการบรรจุเรื่องความสำคัญของภูมิปัญญาไทยในรัฐธรรมนูญ • ปัญหาผู้สืบทอดภูมิปัญญาเป็นปัญหาเร่งด่วนมากกว่าเรื่องการแบ่งปันผลประโยชน์

  22. ให้ความสำคัญกับการควบคุมการนำภูมิปัญญาไปใช้ในทางที่เสื่อมเสียให้ความสำคัญกับการควบคุมการนำภูมิปัญญาไปใช้ในทางที่เสื่อมเสีย

More Related