910 likes | 1.37k Views
การนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ สู่การปฏิบัติ. ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374. TQA. Obec -QA. L4. Sc-QA. ๑๐. เขียนรายงานผลการดำเนินการ. L3. ๙. ปรับปรุงและพัฒนาองค์กร. ๘. วัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้. ๗. COMPETENCIES.
E N D
การนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติสู่การปฏิบัติการนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ดร.นิพนธ์ เสือก้อน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดราชโอรส Nipo_ndr@hotmail.com 08-1801-6374
TQA Obec-QA L4 Sc-QA ๑๐ เขียนรายงานผลการดำเนินการ L3 ๙ ปรับปรุงและพัฒนาองค์กร ๘ วัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ๗ COMPETENCIES จัดทำแผนพัฒนาฯและดำเนินการ L2 ๖ จัดทำโครงร่างองค์กร ๕ วินิจฉัยองค์กร ๔ เตรียมและพัฒนาทีมงาน L1 ๓ ปรับโครงสร้างองค์กร ๒ สร้างค่านิยมและแนวคิดหลัก ๑ START เตรียมองค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๑ วัตถุประสงค์ • รู้เท่าทัน TQA/พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เตรียมองค์กร กระบวนงาน • ผู้อำนวยการประกาศเป็นนโยบาย • สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก • ประเมิน นิเทศ ติดตาม กลุ่มเป้าหมาย • STAKEHOLDERS
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๒ วัตถุประสงค์ • ใช้เป็นหลักคิดและปฏิบัติของ STAKEHOLDERS สร้างค่านิยม/แนวคิดหลัก กระบวนงาน • กำหนดค่านิยมและแนวคิดหลัก • ปลูกฝังค่านิยมและแนวคิดหลัก • นำมาใช้เป็นหลักคิดการดำเนินการ TQA กลุ่มเป้าหมาย • STAKEHOLDERS
ค่านิยมและแนวคิดTQA • กำหนดทิศทาง สร้างค่านิยม ข้อ ๑ • กำหนดความคาดหวังที่สูง การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ • ให้มีกลยุทธ์ สร้างบรรยากาศ • จูงใจ กระตุ้น • สร้างสมดุลความต้องการของผู้ • มีส่วนได้ส่วนเสีย • มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติและผลที่จะเกิดขึ้น • มีส่วนร่วมด้วยตัวเอง :การวางแผน การสื่อสาร การสอนงาน การพัฒนาผู้นำในอนาคต การทบทวนผลการดำเนินการ การยกย่องชมเชย
ข้อ ๒ • เน้นผลิตภัณฑ์และการ • บริการที่ลูกค้าเข้าถึง ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้า • จะนำไปสู่: - ได้ลูกค้าใหม่เพิ่ม - ความพึงพอใจของลูกค้า - ความนิยมของลูกค้า ฯลฯ • มุ่งทั้งลูกค้าปัจจุบัน อนาคต รวมถึงลูกค้าของคู่แข่ง • เพราะฉะนั้นจึงต้อง :เข้าใจเน้นความต้องการลูกค้าปัจจุบัน ตระหนักในการพัฒนาเทคโนโลยี และสิ่งที่คู่แข่งนำเสนอ รวดเร็ว ยืดหยุ่นต่อสภาวะการเปลี่ยนแปลงของลูกค้า สภาวะแวดล้อม และตลาด
ข้อ ๓ • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกระบวนการที่เป็นระบบ การเรียนรู้ขององค์กรและบุคคล • การเรียนรู้ระดับองค์กร : - การปรับปรุงที่ต่อเนื่อง • การสร้างนวัตกรรมที่นำไปสู่ • เป้าประสงค์ หรือแนวทางใหม่ • การเรียนรู้ระดับบุคคล : ๑. ทำให้บุคลากรในองค์กรมีความผูกพัน ความพึงพอใจ และทักษะหลากหลายเพิ่มขึ้น ๒. เกิดการเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน ๓. มีการสร้างสินทรัพย์ทางความรู้ขององค์กร ๓. มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดนวัตกรรมมากขึ้น
มุ่งมั่นต่อการสร้างความผูกพัน ความพึงพอใจ การพัฒนา และความผาสุขของบุคลากร ข้อ ๔ การให้ความสำคัญกับบุคลากรและพันธมิตร • ความท้าทายที่สำคัญ: - ความมุ่งมั่นของผู้นำต่อความสำเร็จของบุคลากร - การสร้างระบบยกย่องชมเชย หรือการให้รางวัลที่นอกเหนือไปจากระบบการให้ผลตอบแทนปกติ - ข้อเสนอด้านการพัฒนาและความก้าวหน้าของบุคลากรในองค์กร - การแบ่งปันความรู้ขององค์กรเพื่อให้เกิดการบริการที่ดีต่อลูกค้า • การสร้างสภาพแวดล้อมที่ให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการสนับสนุนบุคลากรที่หลากหลาย
ข้อ ๕ • ประกอบด้วย: ความคล่องตัว - การสนองลูกค้าเฉพาะราย - ลดเวลานำเสนอผลิตภัณฑ์และการบริการ - ตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อประเด็นปัญหาสังคมใหม่ๆ • ผ่าน ๔ แนวทางสำคัญ : ๑. ระบบงานใหม่ ๒. บุคลากรที่มีความสามารถคล่อมสายงาน ๓. ให้อำนาจตัดสินใจ ๓. ให้ความสำคัญกับรอบเวลา และการติดตามวัดผล
ความคาดหวังล่วงหน้าถึงปัจจัยต่าง ด้านลูกค้า โอกาสทางธุรกิจ การพัฒนาบุคลากร การจ้างงาน การพัฒนาเทคโนฯ การเปลี่ยนแปลงของลูกค้า รูปแบบทางธุรกิจ กฎ ระเบียบที่เปลี่ยนแปลง ความคาดหวังของชุมชน และการปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ของคู่แข่ง ข้อ ๖ การมุ่งเน้นอนาคต • จะสะท้อนออกให้เห็นตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
ข้อ ๗ • เป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กระบวนการ การปฏิบัติงาน และรูปแบบทางธุรกิจ การสร้างคุณค่าใหม่ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการเพื่อนวัตกรรม • นวัตกรรมเกิดจากการสั่งสมความรู้ขององค์กรและบุคลากร ความสามารถในการเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากความรู้เป็นแรงผลักดันด้านนวัตกรรมขององค์กร
ข้อ ๘ • การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการ การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • การวัดผล: - พัฒนามาจากความต้องการและกลยุทธ์ทางธุรกิจ - วัดจากกระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ์ที่สำคัญ - ใช้ข้อมูล สารสนเทศที่หลากหลาย และการจำแนกเพื่อสะดวกต่อการวิเคราะห์ • การวิเคราะห์: - กำหนดแนวโน้ม คาดการณ์ เป็นเหตุเป็นผล - สนับสนุนการตัดสินใจ และการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ข้อ ๙ • เป็นบทบาทของผู้นำที่แสดงออกต่อสังคม การประพฤติ ปฏิบัติ ความคำนึงถึงความผาสุกและประโยชน์ของสังคมในมุมกว้าง การเป็นแบบอย่างที่ดี การคุ้มครองป้องกันสุขอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของสาธารณะ และผลกระทบที่เกิดจากการกระทำขององค์กรต่องสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมในมุมกว้าง
ข้อ ๑๐ • การวัดผลการดำเนินการเน้นที่ผลลัพธ์ การสร้างคุณค่า และการรักษาความสมดุลของคุณค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นสำคัญ การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า • การใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินการแบบนำและแบบตามอย่างสมดุลเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
ข้อ ๑๑ • การวัดผลการดำเนินการโดยรวม อาศัย: มุมมองเชิงระบบ - การสังเคราะห์ การมองภาพรวม ความต้องการทางธุรกิจ ความสามารถพิเศษ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ระบบงาน และกระบวนทำงาน • ความสอดคล้องไปทางเดียวกัน • การบูรณาการในประเด็นเฉพาะขององค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๓ วัตถุประสงค์ • กำหนดระบบงาน ภาระงานกระบวนงาน • และตัวชี้วัดของหน่วยงานตามแนวทาง TQA ปรับโครงสร้างองค์กร กระบวนงาน • ปรับโครงสร้างองค์กรตามแนวทาง TQA • มอบหมายผู้รับผิดชอบตามโครงสร้าง • ประชุมปฏิบัติการจัดระบบ ภาระงาน • กระบวนงาน และตัวชี้วัด • จัดทำเอกสารหน่วยงาน กลุ่มเป้าหมาย • ครูและบุคลากรของโรงเรียน
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๔ วัตถุประสงค์ • สร้างภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีมตามแนวทาง TQA เตรียมและพัฒนาทีมงาน กระบวนงาน • แต่งตั้งคณะทำงาน/คณะกรรมการฯ • อบรมเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ และแนวทางการเขียนรายงานขอรับประเมิน • มอบหมายภาระงาน กลุ่มเป้าหมาย • ครูและบุคลากรของโรงเรียน
คณะกรรมการตามกรอบ TQA คณะกรรมการบริหาร (Steering Committee) ชุดที่ ๑ 1 2 3 4 5 6 ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ชุดที่ ๒ คณะกรรมการเขียนรายงาน (Award Application Committee:Champion) ชุดที่ ๓ 1 2 3 4 5 6 7 ชุดที่ ๔ คณะทำงานของหน่วยงานต่างๆ: Team A, Team B ฯลฯ
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๕ วัตถุประสงค์ • กำหนดกิจกรรมปรับปรุง/พัฒนาเพื่อการบรรลุ • ความคาดหวัง (ความท้าทาย) วินิจฉัยองค์กร กระบวนงาน • วินิจฉัยสภาพที่เป็นจริงและความคาดหวัง • ของหน่วยงาน • กำหนดประเด็นความท้าทาย • กำหนดกิจกรรมเพื่อบรรลุความท้าทาย กลุ่มเป้าหมาย • หน่วยงานตามโครงสร้างของโรงเรียน
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... วัตถุประสงค์ ๖ • สรุปภาพรวมขององค์กรว่าด้วยสิ่งสำคัญที่มีต่อวิธีดำเนินการ นักเรียน และอนาคตขององค์กร จัดทำ โครงร่าง องค์กร กระบวนงาน • ศึกษากรอบโครงร่างองค์กร และข้อกำหนด • ของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ • หาข้อมูล จัดลำดับความสำคัญ และหาข้อสรุป • เขียนรายงานตามกรอบโครงร่างองค์กร กลุ่มเป้าหมาย • ทุกหน่วยงานตามโครงสร้างองค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... วัตถุประสงค์ ๗ • จัดระบบงบประมาณตามภาระงานตามโครงร้างองค์กรและกลยุทธ์สู่ความสำเร็จตามพันธกิจ จัดทำแผนพัฒนาฯและ ดำเนินการ กระบวนงาน • จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ ๔ ปี และแผนปฏิบัติการประจำปี • กำหนดกรอบงบประมาณ/เวลา/ผู้รับผิดชอบ • ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปี • กำกับ ติดตาม การดำเนินการตามแผนฯ กลุ่มเป้าหมาย • หน่วยงานตามโครงสร้างองค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... วัตถุประสงค์ ๘ • วัด ประเมิน และวิเคราะห์ผลการดำเนินการด้านกระบวนการและผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่สำคัญ วัด วิเคราะห์และการจัดการ ความรู้ กระบวนงาน • แต่ละหน่วยงาน (คณะกรรมการชุดที่ ๑) วัดและประเมินผลการดำเนินการ • จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สรุปข้อมูลตามข้อกำหนดของเกณฑ์ฯ กลุ่มเป้าหมาย • หน่วยงานตามโครงสร้างองค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... วัตถุประสงค์ ๙ • ทุกหน่วยงานนำผลการวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้มาปรับปรุงและพัฒนาฯ ปรับปรุง และพัฒนาองค์กร กระบวนงาน • วิเคราะห์ผลการดำเนินการที่เกิดขึ้นจริงกับความคาดหวัง • กำหนดประเด็น/องค์ความรู้ที่สำคัญที่ส่ง • ผลโดยตรงต่อการความสำเร็จ • ดำเนินการเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาฯ กลุ่มเป้าหมาย • ทุกหน่วยงานตามโครงสร้างองค์กร
บันได ๑๐ ขั้นสู่ TQA... ๑๐ วัตถุประสงค์ • เสนอรายงานผลการดำเนินงานทั้งด้านกระบวนการและผลลัพธ์เพื่อรับการตรวจเยี่ยม เขียนรายงาน ผลการดำเนินการ กระบวนงาน • กรรมการชุดที่ ๑ เขียนรายงานผลการดำเนิน • งานด้านกระบวนการและผลลัพธ์ตาม • กรรมการชุดที่ ๒ บูรณาการรายงานผลการ • ดำเนินงานเป็นภาพรวมขององค์กร • กรรมการชุดที่ ๓ พิจารณา ปรับปรุง และเสนอ • ต่อกรรมการชุดที่ ๔ กลุ่มเป้าหมาย • คณะกรรมการชุดทื่ ๑ -๔
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนวัดราชโอรส
วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากลตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป้าประสงค์ นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพและมีคุณลักษณะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากลได้อย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากล สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา
ผลผลิตของสถานศึกษา ผลผลิตที่ ๑ นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสากลตามเกณฑ์ ที่โรงเรียนกำหนด ผลผลิตที่ ๒ นักเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสากลตามเกณฑ์ที่ โรงเรียนกำหนด
๑. ร้อยละของนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๒. ร้อยละของนักเรียนที่มีคุณลักษณะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนมาตรฐานสากลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๓. ร้อยละความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองต่อการจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากลไม่น้อยกว่าระดับดี ๔. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากลผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๕. ผลการประเมินระบบบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
๑. นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากลร้อยละ ๑๐๐ เป้าหมายความสำเร็จ ๒. นักเรียนมีคุณลักษณะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนมาตรฐานสากลระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๓. ระดับคุณภาพของการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากลไม่ต่ำกว่าดีร้อยละ ๙๐ ๔. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากลระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๕. ผลการประเมินระบบบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาระดับ OBEC-QA ภายในปี ๒๕๕๗
วัตถุประสงค์หลัก ตัวชี้วัดและเป้าหมายความสำเร็จ
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการศึกษาสู่โรงเรียนมาตรฐานสากลบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการศึกษาสู่โรงเรียนมาตรฐานสากลบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลกระทบการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ END ผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา นักเรียนมีความสามารถและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในระดับสูง นักเรียนมีความสามารถและทักษะภาษาไทยในระดับสูง มุมมองด้าน ผู้เรียน ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นและความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง นักเรียนมีความสามารถและทักษะในการคิดที่เป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดแก้ปัญหา นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจวิถีชีวิต วัฒธรรมลักษณะเฉพาะในการอยู่ร่วมกัน ทำงานร่วมกัน และการแข่งขัน นักเรียนมีทักษะและความสามารถการผลิตและใช้เทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร (ICT) ในระดับสูง นักเรียนมีจิตสาธารณะ จิตบริการสังคมและรับผิดชอบสังคมในระดับสูง มุมมองด้าน การให้บริการทางการศึกษา กระบวนการจัดการศึกษา โรงเรียนใช้หลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางสู่มาตรฐานสากล โรงเรียนมีระบบการกำกับ ติดตาม นิเทศ ตรวจสอบการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล โรงเรียนมีระบบการสนับสนุน ส่งเสริมและเผยแพร่ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศทั้งในและนอกสถานศึกษา MEANS ปัจจัยการจัดการศึกษา มุมมองครู และบุคลากร ครูมีความรู้ ความสามารถและทักษะระดับสูงเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากล ครูมีค่านิยม แนวคิด และกระบวนการทำงานตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา ครูมีเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษามาตรฐานสากลทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ มุมมองด้าน บริหารฯ สถานศึกษาใช้ระบบบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาที่มีคุณภาพ สถานศึกษามีเครือข่ายร่วมพัฒนาการศึกษาทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ
การกำหนดกลยุทธ์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หลักการกำหนดกลยุทธ์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์หลัก เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากล โรงเรียนใช้หลักสูตรฯและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางมาตรฐานสากล - ปรับโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากล - ระดับคุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากล - หลักสูตรสถานศึกษาฯมีคุณภาพระดับดีถึงดีมากไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของนักเรียนกลุ่มความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ • นักเรียนกลุ่มความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษในระดับดี - นักเรียนมีความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษภาษาอังกฤษ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในระดับดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในระดับดีร้อยละ ๙๐ - จัดแผนการเรียนอาเชียนศึกษาแบบบูรณาการ
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของนักเรียนที่เรียนต่อระดับอุดมศึกษาคณะแพทย์ศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ - นักเรียนเรียนต่อระดับอุดมศึกษาคณะแพทย์ศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ - จัดห้องเรียนพิเศษ(แพทย์- วิศวะ) อินเตอร์
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล - ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ที่เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด - ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ - จัดกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - จัดกิจกรรมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยน - ร้อยละของนักเรียนที่มีประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยน - นักเรียนมีประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถและทักษะภาษาไทยในระดับดี - นักเรียนมีความสามารถและทักษะภาษาไทยในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๙๐ - จัดกิจกรรมยกระดับความสามารถและทักษะการอ่าน การเขียน การพูด และการฟังภาษาไทย - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถและทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ - ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู ความสามารถและทักษะคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ - นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู ความสามารถและทักษะคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๑๐๐
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น และประเทศในกลุ่มอาเซี่ยน - ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น และประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนในระดับดี - นักเรียนมีความรู้ ความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น และประเทศในกลุ่มอาเซี่ยนในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ๕๐ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความมุ่งมั่นในการแสวงหาความรู้ด้วยตนในระดับดี - นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ - จัดกิจกรรมส่งเสริมความมุ่งมั่นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะการคิด - ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถ และทักษะการคิดเป็นระบบในระดับดี - นักเรียนมีความสามารถและทักษะการคิดเป็นระบบในระดับดีไม่น้อยกว่านร้อยละ ๘๕ - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะ ICT - ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถและทักษะ ICT ในระดับดี - นักเรียนมีความสามารถและทักษะ ICT ระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์งานอาชีพ - นักเรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์งานอาชีพในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ ความสามารถทักษะและประสบการณ์งานอาชีพในระดับดี
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของนักเรียนที่มีผลงานการเข้าร่วมประกวด แข่งขัน ความสามารถและทักษะงานทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรีจากหน่วยงานนอกสถานศึกษา - นักเรียนมีผลงานการเข้าร่วมประกวด แข่งขัน ความสามารถและทักษะงานทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรีจากหน่วยงานนอกสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะงานทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี - จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ อนามัย และความสามารถพิเศษด้านกีฬา - ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพอนามัยตามเกณฑ์มาตรฐาน - นักเรียนมีสุขภาพอนามัยตามเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕ - รางวัลของการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆในนามโรงเรียนวัดราชโอรสไม่น้อยกว่า ๑๐๐ รางวัล/ปี - จำนวนรางวัลของการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆในนามโรงเรียนวัดราชโอรสต่อปี
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับดี - นักเรียนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ - จัดกิจกรรมเสริมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - จัดกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม - ร้อยละของนักเรียนที่มีจิตสาธารณะและร่วมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมในระดับดี - นักเรียนมีจิตสาธารณะและร่วมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ - ร้อยละของนักเรียนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาได้รับทุนสนับสนุนการศึกษา - นักเรียนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาได้รับทุนสนับสนุนการศึกษาร้อยละ ๑๐๐ - จัดระดมทุนการศึกษาแด่นักเรียนที่ด้อยโอกาส
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ส่งเสริมการกำกับ ติดตามและประเมินการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล สถานศึกษามีระบบการกำกับ ติดตาม นิเทศ ตรวจสอบการจัดการศึกษามาตรฐานสากล - จัดระบบการติดตามการจัดการศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากล - ระดับคุณภาพของระบบการติดตามการจัดการศึกษามาตรฐานสากลระบบในระดับดี - คุณภาพของระบบการติดตามการจัดการศึกษามาตรฐานสากลระบบในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - จัดประเมินผลสัมฤทธิ์ความสามารถและทักษะเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล - ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในระดับดี - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ - รายงานผลการจัดการศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากล - ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองและสังคมต่อผลการจัดการศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากลในระดับดี - ผู้ปกครองและสังคมมีความพึงพอใจต่อต่อผลการจัดการศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากลในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๕
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ ส่งเสริมการเผยแพร่ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศของการจัดการศึกษาสู่มาตรฐานสากล สถานศึกษามีระบบการสนับสนุน ส่งเสริมและเผยแพร่ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศทั้งในและนอกสถานศึกษา - ระดับความพึงพอใจของครูและผู้ปกครองต่อการแสดงความรู้ ความสามารถและทักษะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในระดับดี - ครูและผู้ปกครองมีความพอใจต่อการแสดงความรู้ ความสามารถและทักษะตามเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๕ - จัดกิจกรรมการแสดงความรู้ ความสามารถและทักษะของนักเรียนตามเป้าหมายด้านผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของหน่วยงานตามโครงสร้างการบริหารที่มีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ - หน่วยงานตามโครงสร้างการบริหารมีผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศร้อยละ ๑๐๐ - จัดประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศของหน่วยงานตามโครงสร้างการบริหาร - สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาใน สพม.1 ที่ได้รับเอกสารร้อยละ ๑๐๐ - ร้อยละของสถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาใน สพม.1 ที่ได้รับเอกสาร - จัดทำเอกสารเผยแพร่ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศของหน่วยงานตามโครงสร้าง - หน่วยงานตามโครงสร้างการบริหารที่ได้รับรางวัลผลการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศร้อยละ ๒๐ - ร้อยละของหน่วยงานตามโครงสร้างการบริหารที่ได้รับรางวัลผลการประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศ - จัดส่งประกวดผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศ
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่เป็นเลิศ - โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปีเป็นเลิศไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ - จัดประกวดผลการปฏิบัติตามโครงการ/กิจกรรมที่เป็นเลิศตามแผนปฏิบัติการประจำปี - จัดประกวดนวัตกรรมการเรียนการสอน - ร้อยละของครูที่สร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน - ครูสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ พัฒนาศักยภาพครูด้านการจัดการเรียน การสอนสู่มาตรฐานสากล ครูมีความรู้ ความสามารถและทักษะระดับสูงเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนสู่มาตรฐานสากล - จัดอบรมทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ - ร้อยละของครูที่มีความสามารถและทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้ในระดับดี - ครูมีความสามารถและทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - จัดอบรมครูการจัดการสอนผ่านระบบเครือข่าย ICT - ร้อยละของครูที่มีความสามารถและทักษะในการสอนด้วยระบบ ICT - ครูมีความสามารถและทักษะในการสอนด้วยระบบ ICT ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ - จัดอบรมครูการสอนทักษะการคิดเป็นระบบ และการคิดเพื่อแก้ปัญหา - ร้อยละของครูที่มีความสามารถและทักษะในการสอนทักษะการคิดเป็นระบบและคิดแก้ปัญหา - ครูมีความสามารถและทักษะในการสอนทักษะการคิดเป็นระบบและคิดแก้ปัญหาในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ - จัดอบรมครูการพัฒนาจิตสาธารณะแบบบูรณาการ - ร้อยละของครูที่บูรณาการการพัฒนาจิตสาธารณะในการจัดการเรียนการสอน - ครูบูรณาการการพัฒนาจิตสาธารณะในการจัดการเรียนการสอนร้อยละ ๑๐๐
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ - จัดอบรมครูการจัดการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาอังกฤษ - ร้อยละของครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถและทักษะในการสอนด้วยภาษาอังกฤษได้ในระดับดี - ครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์มีความสามารถและทักษะในการสอนด้วยภาษาอังกฤษได้ในระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ - จัดสอบเทียบความรู้ภาษาอังกฤษจากสถาบันนานาชาติ - ร้อยละของครูที่สอนภาษาอังกฤษมีความรู้ภาษาอังกฤษระดับนานาชาติผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด - ครูสอนภาษาอังกฤษมีความรู้ภาษาอังกฤษระดับนานาชาติผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐