360 likes | 1.4k Views
Inventory Management. การจัดการสินค้าคงคลัง. Forecast. Demand. Production Planning. Inventory Control. แผนผลิตรวม , สมดุลผลิต , ตารางการผลิตหลัก,การจัดลำดับงาน. MRP / JIT TOC CONWIP. EOQ / EPQ ROP / SS. Input. วัตถุดิบ ,ชิ้นส่วนประกอบ , วัสดุสิ้นเปลือง. Process. WIP. Output.
E N D
Inventory Management การจัดการสินค้าคงคลัง
Forecast Demand Production Planning Inventory Control แผนผลิตรวม , สมดุลผลิต , ตารางการผลิตหลัก,การจัดลำดับงาน MRP / JIT TOC CONWIP EOQ / EPQ ROP / SS
Input วัตถุดิบ ,ชิ้นส่วนประกอบ , วัสดุสิ้นเปลือง Process WIP Output Finish Goods สิ่งที่สนใจคือ จะซื้อเท่าไหร่ และเมื่อไหร่
Inventory Management Continuous Review Non Capacitate Capacitate Periodic Review
ค่าใช้จ่ายในการคงคลังค่าใช้จ่ายในการคงคลัง 1 ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ 2 ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ 3 ค่าใช้จ่ายในการขาดสต็อก(Lost sale & Back order) ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ
ต้นทุนต่างๆจากการสั่งซื้อต้นทุนต่างๆจากการสั่งซื้อ I Q t วิธีในการวิเคราะห์ที่ง่ายที่สุด 1 ในการใช้สินค้าจะใช้เป็นอัตราส่วนสม่ำเสมอ 2 ปริมาณการสั่งซื้อเท่ากับ Q ทุกครั้ง 3 จะสั่งซื้อเมื่อ คงคลัง = 0 และ lead time =0
การคำนวณหาค่า EOQ I Q t ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ ปริมาณในการจัดเก็บในช่วงเวลา= Q/2 สินค้าซื้อมาในต้นทุน C ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ I ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ D = ปริมาณความต้องการของลูกค้า S = ค่าใช้จ่ายในการซื้อแต่ละครั้ง ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ + ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ =
การคำนวณหาค่า EOQ ต้นทุนทั้งหมด = เราต้องการค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด ;X = Q เราสามารถหาค่าต่ำสุดได้จาก ค่าใช้จ่ายรวม (TC)
Q= 89.44 =90 ชิ้น / ครั้ง ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า EOQ โดยมีค่าความต้องการตลอดทั้งปีคือ 1000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 12.5 บาท โดยที่การสั่งซื้อแต่ละครั้งต้องมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ 5 บาท /ครั้ง และค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บเป็น 10% ของราคาสินค้า Solve D = 1000 C = 12.5 I = 0.1 S = 5
Solve ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 ถ้ามีข้อเสนอว่าถ้าซื้อครั้งละ 200 ชิ้นจะลดราคาให้เหลือ ราคาชิ้นละ 8 บาท จะยอมรับหรือไม่ Ans.เลือกซื้อครั้งละ 200 ชิ้น
ตัวอย่างที่ 3 ถ้าความต้องการของลูกค้าต่อปีคือ 10000 ชิ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อคือ 20บาท/ครั้งค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บเป็น 20% ของราคาสินค้าโดยที่ ซื้อครั้งละ 1-499 ชิ้น ให้ราคา 5 บาท 500-999 ชิ้น ให้ราคา 4.5 บาท >= 1000 ชิ้น ให้ราคา 4 บาท Solve 1. คำนวณ EOQ ในแต่ละ ราคา 2. ดูว่า EOQ เป็นจริงหรือไม่ ถ้าไม่เป็นจริงให้ตัดทางเลือกนั้นทิ้ง 3. ถ้าเป็นจริงมากกว่า 1 ทางเลือกให้พิจารณาจากค่า TC
ตัวอย่างที่ 3(ต่อ) TC(500) = 45625 บาท TC(667) = 45330 บาท TC(1000) = 45480 บาท
I V V Q t1 t2 t T2 T1 TV Q/V=TV/T1 จากกฎ 3 เหลี่ยมมุมฉาก Q/(Q-V)=TV/T2 EOQ เมื่อยอมให้มีการขาดสต็อก ปริมาณคงคลังเฉลี่ยในช่วง t2 = (Q-V)/ 2 ปริมาณคงคลังเฉลี่ยในช่วง t1 = V/2 TV = T1+T2
I V V Q t1 t2 t T2 T1 TV EOQ เมื่อยอมให้มีการขาดสต็อก
I Q p-u u OP L Dt t การคำนวณหาค่า EPQ เมื่อ Q =ปริมาณการผลิตที่เหมาะสม OP=จุดสั่งใหม่ Dt =จำนวนวันในการเดินเครื่อง เมื่อ L = ช่วงเวลาตั้งแต่สั่งจนได้รับของ p = อัตราในการผลิตต่อวัน u = อัตราการใช้ต่อวัน Lead time
การคำนวณหาค่า EPQ ลักษณะคล้ายๆกับ EOQ ที่เราจะต้องหาจำนวนในการสั่ง(ผลิต) เมื่อ N = จำนวนครั้งในการเดินเครื่องต่อ ปี A = ยอดขายต่อปีในราคาโรงงาน I = ค่าใช้จ่ายในการคงคลัง(%มูลค่าคงคลังเฉลี่ย) S = ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องต่อการเดิน เครื่อง 1 ครั้ง
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับสต็อกปลอดภัย(Safety Stock:SS) โดย SS = Safety Stock Dmax = ค่าความต้องการสูงสุดในช่วง L Dbar = ค่าความต้องการเฉลี่ยในช่วง L L = Lead Time
I ความต้องการเฉลี่ยในช่วงเวลานำ Q Q/2 ROP ระดับ Safety Stock ความต้องการสูงสุดในช่วงเวลานำ t ช่วง Lead time tv การจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับสต็อกปลอดภัย (Safety Stock:SS)
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับสต็อกปลอดภัย(Safety Stock:SS) Safety Stock เมื่อ เวลานำคงที่ เราต้องสมมติการแจกแจงของข้อมูลในท่จะคำนวณหาระดับ SS การแจกแจงที่นิยมนำมาใช้ในการคำนวณหา SS มีอยู่ 3 แบบคือ 1. การแจกแจงแบบปกติ มักนิยมใช้กับโรงงานอุตสาหกรรม 2. การแจกแจงแบบปัวซอง เหมาะกับธุรกิจที่เป็นขายปลีก 3. การแจกแจงแบบ exponential เหมาะกับการขายปลีก และ ขายส่ง
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับสต็อกปลอดภัย(Safety Stock:SS) Safety Stock เมื่อ เวลานำคงที่ 1. การแจกแจงปกติ ค่า Z เกิดจากกำหนดความเสี่ยงในการขาด stock (a)แล้วเปิดดูจากตาราง 2. การแจงแบบปัวซอง Dbar มักมีค่าอยู่ระหว่าง 2 ถึว 20 3. การแจกแจงแบบ Exponential
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับสต็อกปลอดภัย(Safety Stock:SS) Safety Stock เมื่อ เวลานำที่มีการเปลี่ยนแปลง ใช้หลักความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ พื่อหาค่า Dmax และ SS แล้วเลือกค่าจากค่าความเชื่อมั่น ตัวอย่างตามหนังสือ
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับ Reoder Point - Fixed Order Size System or Fix Order Quantity - Fixed Order Arrival System or Fix Time Quantity Fixed Order Size System or Fix Order Quantity จะแสดงตำแหน่งสต็อกไว้อย่างต่อเนื่องเมื่อสต็อกลดลงถึง ROP ก็จะทำการสั่งในระดับคงที่แต่ช่วงเวลาขึ้นกับอัตราการใช้วัตถุดิบ
การจัดการสินค้าคงคลังการจัดการสินค้าคงคลัง การหาระดับ Reoder Point Fixed Order Arrival System or Fix Time Quantity ตำแหน่งสต็อกจะถูกทบทวนเป็นระยะๆ และความต้องการเป็นแบบเชิงสุ่ม เมื่อ P= ช่วงเวลาในการสั่ง T= ระดับเป้าหมายคงคลัง D’bar = ความต้องการเฉลี่ยในช่วง P+L SS’ = ระดับ Safety Stock
การจัดการวัสดุคงคลังแบบABCการจัดการวัสดุคงคลังแบบABC เป็นการแบ่งคลาสของวัสดุคงคลังออกเป็น 3 คลาสโดยพิจารณาตามต้นทุน การแบ่งระดับมี 3 ระดับคือ A มีมูลค่าเป็น 80% ของคงคลังทั้งหมด B มีมูลค่าเป็น 15% ของคงคลังทั้งหมด C มีมูลค่าเป็น 5% ของคงคลังทั้งหมด 80% 15% 5% จะเป็นไปตามกฎ 20-80